21
บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวค ดในการพัฒนา บุคล กภาพเพื่องานประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารองค์กร อาจารย์เรวดี ไวยวาสนา

บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

บทท่ี 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันาบคุลิกภาพเพ่ืองานประชาสมัพนัธ ์

และการส่ือสารองคก์ร

อาจารยเ์รวดี ไวยวาสนา

Page 2: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

◘ มุมมองของทฤษฎีและแนวคิดท่ีเก่ียวกับ บคุลิกภาพ ◘

แบง่ออกเป็น 3 กลุ่ม 1. มมุมองด้านจิตวิเคราะห ์

2. มมุมองด้านลกัษณะนิสยั

3. มมุมองด้านมนุษยนิยม

Page 3: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

◘ กลุ่มท่ี 1 มุมมองด้านจิตวิเคราะห์ ◘ (Psychoanalytic Perspective)

สาระส าคญัโดยรวม 1. ประสบการณ์ในอดีตส่งผลต่อบุคลิกภาพและพฤติกรรม

ในปัจจบุนัและอนาคต 2. บุคลิกภาพของมนุษยมี์พฒันาการ อย่างต่อเน่ืองเป็น

ล าดบัขัน้ ต้องผ่านช่วงพฒันาการท่ีเรียกว่าช่วงวิกฤติอย่างสมบรูณ์

3. อธิบายพฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนจากปกติได้ชดัเจนกว่าแนวคิดอ่ืน ๆ

4.ให้ความส าคัญกับสัมพนัธภาพเชิงสังคม วัฒนธรรม พนัธกุรรมในการหล่อหลอมบคุลิกภาพของบคุคล

Page 4: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

ซิกมนัด ์ฟรอยด ์(Sigmund Freud) แบ่งระดับการท างานของจิต (Levels of Consciousness)

1. จิตส านึก (Conscious) รู้ตวัว่าก าลงัท าอะไร เหน็และได้ยินอะไร

2. จิตก่อนส านึก (Preconscious) เป็นสภาวะจิตของบุคคลท่ีเกบ็สะสมประสบการณ์บางอย่างไว้ เป็นส่วนของเรือ่งราวในอดีต

3. จิตไรส้ านึก (Unconscious) เป็นสภาวะของจิตท่ีมีอยู่ แต่บคุคลไม่รูว่้ามี เพราะว่า ไม่รูสึ้กตวั ระลึกไม่ได้

Page 5: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ
Page 6: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

1) Id เป็นพลงังานติดตวัมนุษยม์าตัง้แต่เกิด รวมถึงสญัชาตญาณ

2) Ego เป็นพลงัแห่งการรูแ้ละเข้าใจ

3) Superego เป็นพลงัท่ีเกิดจากการเรียนรู้ เป็นส่วนหน่ึงของค่านิยมต่าง ๆ จะคอยหักห้ามความรนุแรงของพลงั Id

โครงสร้างของบคุลิกภาพ (Structures of the Personality)

Page 7: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

ฟรอยดแ์บ่งขัน้พฒันาการของร่างกายและอารมณ์ โดยขึ้นอยู่กบัความต้องการทางเพศ ออกเป็น 5 ขัน้ ดงัน้ี

1. ขัน้แสวงหาความสุขจากอวยัวะปาก (Oral Stage) แรกเกิด-18 เดือน

2. ขัน้แสวงหาความสขุจากอวยัวะทวารหนัก (Anal Stage) 18 เดือน-3ขวบ

ขัน้ตอนพฒันาการบคุลิกภาพ (Stages of Psychosexual Development)

Page 8: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

3. ขัน้แสวงหาความสุขจากอวยัวะเพศ (Phallic Stage) หากเป็นเด็กผู้ชายจะมีพฤติกรรมแบบ Oedipus Complex คือ มีจิตผกูพนักบัแม่จะกลวัพ่อ ส่วนเดก็ผู้หญิงจะมีพฤติกรรมแบบ Electra Complex คือ จะเกิดความรกัผกูพนักบัพ่อมากกว่าแม่ (3-6 ขวบ)

4. ขัน้แฝง (Latency Stage) เดก็จะ สนใจต่อสติปัญญา พฒันาการด้านสงัคม (6-11 ขวบ)

5. ขัน้สนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) 12-20 ปี

Page 9: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

ประเดน็ส าคญั

บุคคลใดพฒันาไปตามขัน้ตอนดงักล่าวด้ ว ย ดี บุ ค ค ล นั้น จ ะ มี พัฒน า ก า ร ท า งบุคลิกภาพท่ีสมบูรณ์ หากพัฒนาการไม่สมบู ร ณ์ก็จ ะ เ กิ ดสภาวะ “ ติด ข้ อ งอยู่ ” ( fixation) ซ่ึ ง มี ผ ล ต่ อ พัฒ น า ก า ร ด้ า นบคุลิกภาพในแง่ลบ

Page 10: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

คารล์ กสุตาฟ จงุ (Carl Gustav Jung)

จุงได้จ าแนกประเภทบุคลิกภาพของคน ตามลกัษณะการด าเนินชีวิตเป็น 2 ประเภท คือ

1) บคุลิกภาพแบบเปิดเผย (Extravert)

2) บคุลิกภาพแบบเกบ็ตวั (Introvert)

ภายหลัง ไ ด้ เ พ่ิมบุค ลิกภาพแบบกลาง ๆ (Ambivert) เป็นอีกประเภทหน่ึง

Page 11: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

1. ชอบท างานเงียบ ๆ คนเดียวถ้าผิดพลาดจะโทษตวัเองไปจนถึงส่ิงแวดล้อม

2. วิตกกงัวลกบัเร่ืองไม่เป็นเร่ือง 3. สนใจข่าวลือ 4. ชอบวิพากษ์วิจารณ์คนอ่ืน 5. ชอบเขียนมากกว่าพดู 6. ชอบนัง่เฉย ๆ คนเดียว 7. ชอบค ายอ ชมเชย 8. ถือตนเป็นศนูยก์ลาง

ประเภทเกบ็ตวั (Introvert)

Page 12: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

1. ถือคนส่วนใหญ่เป็นศนูยก์ลาง ไปไหนไปกนั 2. ชอบท างานเป็นกลุ่ม 3. คิดและท าตามหลกัความจริง 4. ไม่สนใจตวัเองมากนัก

5. เป็นคนทนัสมยั พร้อมจะเปล่ียนตวัเอง

6. อารมณ์ดี สนุกสนาน ไม่เกลียด ไม่รกัใครง่าย ๆ 7. ท าอะไรจริงจงั ถ้าพลาดจะไม่โวยวาย ไม่โทษ

ตวัเอง / ใคร ๆ 8. ไม่ชอบนึกถึงอดีต 9. ชอบหยอกล้อ

ประเภทเปิดเผย /แสดงตวั (Extravert)

Page 13: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

อลัเฟรด แอดเลอร ์ (Alfred Adler) คนเรามีปมด้อยมาแต่ก าเนิด การมีชีวิตอยู่ต้องอาศยั

คนอ่ืนช่วยประคบัประคอง รู้สึกว่าตวัเองมีข้อบกพร่องจึงต้องด้ินรนแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพ่ือลบล้างปมด้อยของตน

บคุลิกภาพของมนุษย ์ มีดงัน้ี 1) ความปรารถนามีปมเด่น

2) ปมด้อย

3) อิทธิพลของพ่อแม่ในวยัเดก็ และการเล้ียงด ู

ลูกคนโต ลกูคนรอง ลกูคนเลก็ ลูกคนเดียว

Page 14: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

คาเรน ฮอรน์าย (Karen Horney)

แบง่บคุลิกภาพของคนออกเป็น 3 ประเภท

1) บุคลิกภาพแบบยอมท าตาม มกัไม่ค่อยเห็นคุณค่าและความสามารถของตวัเอง

2) บุคลิกภาพแบบก้าวร้าว มกัจะบ้าอ านาจ ต้องการการยอมรบัจากสงัคมและอยากประสบความส าเรจ็

3) บุคลิกภาพแบบเหินห่าง มกัชอบอยู่คนเดียว ปรบัตวัโดยวิธีหนีปัญหามากกว่าท่ีจะเผชิญ

Page 15: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

◘กลุ่มท่ี 2 มุมมองด้านลกัษณะนิสยั ◘ (Trait Perspective)

แบง่บคุลิกภาพเป็น 3 ลกัษณะ 1. Cardinal Trait (ลกัษณะนิสยัท่ีโดดเด่น)

2. Central Trait (ลกัษณะนิสยัรว่ม)

3. Secondary Trait (ลกัษณะนิสยัทุติยภมิู)

กอรด์อน อลัลพ์อรท์ (Gordon Allport)

Page 16: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

อธิบายบคุลิกภาพของคนออกเป็น 2 มิติใหญ่ ดงัน้ี

1) Extraversion / Introversion แสดงตวั / เกบ็ตวั

2) Stability / Neuroticism ความมัน่คงทางอารมณ์ / เจ้าอารมณ์

ฮนัส ์ไอแซงค ์(Hans Eysenck)

Page 17: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

อา้งจาก จากหนงัสือ จิตวทิยาอุตสาหกรรม ร.ศ.อ านวย แสงสวา่ง แฮนด ์ ไอเซงค ์ (Hans Eysenck)

หวัน่ไหว

มัน่คง

เกบ็ตวั เปิดเผย

โมโหง่าย กระวนกระวายใจ

กา้วร้าว

ต่ืนเตน้

เปล่ียนแปลงง่าย

ใจร้อน

มองโลกในแง่ดี คล่องตวั

ชอบสงัคม

ผูน้ า

มีชีวติชีวา

ไร้กงัวล

หงุดหงิด กงัวลใจ

แขง็กร้าว เคร่งขรึม

มองโลกในแง่ร้าย ไม่พดูมาก ไม่สงัคม

เงียบ

วางเฉย มีความระมดัระวงั

มีความคิด รักสนัติ

ควบคุมตนเองได ้เช่ือถือได ้

สงบ STABLE

UNSTABLE

EXTROVERTED INTROVERTED

Page 18: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

◘กลุ่มท่ี 3 มุมมองด้านมนุษยนิยม ◘ (Humanistic Perspective)

สาระส าคญัโดยรวม

1. แนวคิดกลุ่มน้ีมองบคุลิกภาพอย่างเป็นองคร์วม

2. บุคลิกภาพของมนุษย์คือการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึน้ตลอดเวลา

3. บุคลิกภาพของบุคคลเป็นผลมาจากการท่ีบุคคลรบัรูจ้ากส่ิงแวดล้อมรอบตวั

4.มนุษยจ์ะดีหรือเลวขึน้อยู่กบัปัจจยัทางส่ิงแวดล้อม มากกว่าปัจจยัทางพนัธกุรรม

Page 19: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

อบัราฮมั มาสโลว ์ (Abraham Maslow) ทฤษฎีล าดบัขัน้แรงจงูใจ (Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation) มีทัง้หมด 5 ขัน้ตอน

1) ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs)

2) ความต้องการความมัน่คงปลอดภยั (Safety Needs)

3) ความต้องการความรกัและการเป็นเจ้าของ

(Belonging and Love Needs)

4) ความต้องการความเคารพนับถือ (Esteem Needs)

5) ความสมบรูณ์ของชีวิต

(Needs for Self Actualization)

Page 20: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ
Page 21: บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา · ฟรอยด์แบ่งขนั้พฒันาการของร่างกายและ

คารล์ โรเจอร ์(Carl Rogers) ทฤษฎีตัวตน (Self theory) มองว่ามนุษย์ทุกคนมีตัวตน

3 แบบ ได้แก่

1) ตนท่ีตนมองเหน็ (Self Concept)

2) ตนตามท่ีเป็นจริง (Real Self)

3) ตนตามอดุมคติ (Ideal Self)

Self-concept = อตัมโนภาพ / ความนึกคิดเก่ียวกบัตนเอง

The end