4
ศ.นพ.เกรียง ตั้งสง่า ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรจุ เข้ารับราชการในตำแหน่ง อาจารย์ ในสาขาวิชา “อายุรศาสตร์” พ.ศ. 2521 ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ พ.ศ. 2528 ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ พ.ศ. 2532 ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชา “อายุรศาสตร์” พ.ศ. 2535 และเลื่อนระดับตำแหน่ง ศาสตราจารย์” ระดับ 11 ในสาขาวิชา “อายุรศาสตร์” ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 พร้อมทั้งได้รับ การแต่งตั้งจาก ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ “รั้งตำแหน่งประธาน” ซึ่งหมายถึงจะรับตำแหน่ง เป็นประธานในวาระถัดไป จาก คณะกรรมการบริหาร ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2555 ตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 มีผลงานทางวิชาการ ด้านวิจัย ทั้งหมด 69 เรื่อง ด้านงานแต่งตำราหรือหนังสือ ทั้งหมด 38 เรื่อง และ บทความทางวิชาการ ทั้งหมด 5 เรื่อง การศึกษา คุณวุฒิ l วิทยาศาสตรบัณฑิต 2514 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (เกียรตินิยมอันดับสอง) l แพทยศาสตรบัณฑิต 2516 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย l ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ 2518 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การแพทย์คลินิก สาขาอายุรศาสตร์ l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ 2520 แพทยสภา ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ทั่วไป l Certificate Research Fellowship in 2527 Johns Hopkins University, Clinical Pharmacology and Baltimore, Maryland, USA. Experimental Therapeutics l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ 2527 แพทยสภา ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์โรคไต ตำแหน่งต่างๆ l ประธานคณะกรรมการดำเนินการจัดงานมหกรรมคุณภาพ พ.ศ. 2545-2549 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l รองผู้อำนวยการฯ ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ พ.ศ. 2546-2550 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l ประธานจัดประชุม International Congress of Nephrology 2005 พ.ศ. 2547-2548 Satellite Meeting on Dialysis Technologies, July 1-3, 2005 l ประธานคณะกรรมการดำเนินงานปลูกถ่ายไต พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l ประธานอนุกรรมการบัญชียาหลักแห่งชาติ สาขาโรคไตและ พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน ทางเดินปัสสาวะ l ประธานอนุกรรมการเลือกตั้งสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน รางวัล l รางวัล “ยกย่องเชิดชูเกียรติกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช” พ.ศ.2547 ประเภท “อาจารย์ดีเด่น” ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย l รางวัล “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” สาขา “วิทยาศาสตร์สุขภาพ” พ.ศ.2549 ของ ประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “ศาสตราจารย์” ระดับ 11 รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 รพ.ที่น่าเชื่อถือที่สุด ( เพิ่มเติมจากฉบับที19 ) BACKGROUND นับเป็น ปีท่ 3 ทีนิตยสาร thaicoon จัดทำวิจัย Most Admired Companies ขึ้นมา และก็เช่นเดียวกับการศึกษาในป2009 คือ พื้นที่วิจัย จำกัดอยู่เฉพาะ กรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล เนื่องจากได้ข้อสรุปจากการวิจัยก่อนหน้านี้แล้วว่า กลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในต่างจังหวัดให้ความสนใจกับกิจการ มีน้อยมาก สำหรับ ปี 2010 นี้ กลุ่มธุรกิจที่ศึกษามีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 13 กลุ่ม เพิ่มจากปีก่อนหน้านี1 กลุ่ม โดยกลุ่มที่เพิ่มขึ้นมาคือ กลุ่มองค์การมหาชนและหน่วยงานพิเศษ ดังนีต่อหน้า 2

รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 “ศาสตราจารย์ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/Spotlightvol20.pdf · 2011-12-06 · “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน”

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 “ศาสตราจารย์ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/Spotlightvol20.pdf · 2011-12-06 · “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน”

ศ.นพ.เกรียง ตั้งสง่า ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรจุ เข้ารับราชการในตำแหน่ง อาจารย์ ในสาขาวิชา“อายุรศาสตร์” พ.ศ. 2521 ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ศ.2528ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ พ.ศ. 2532 ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชา “อายุรศาสตร์” พ.ศ. 2535 และเลื่อนระดับตำแหน่ง“ศาสตราจารย์” ระดับ 11 ในสาขาวิชา “อายุรศาสตร์” ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 พร้อมทั้งได้รับ การแต่งตั้งจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ “รั้งตำแหน่งประธาน” ซึ่งหมายถึงจะรับตำแหน่ง เป็นประธานในวาระถัดไป จาก คณะกรรมการบริหาร ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2555 ตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคมพ.ศ.2553 มีผลงานทางวิชาการด้านวิจัย ทั้งหมด 69 เรื่อง ด้านงานแต่งตำราหรือหนังสือ ทั้งหมด38 เรื่องและบทความทางวิชาการทั้งหมด5 เรื่อง การศึกษา คุณวุฒิ l วิทยาศาสตรบัณฑิต 2514 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (เกียรตินิยมอันดับสอง) l แพทยศาสตรบัณฑิต 2516 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย l ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ 2518 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การแพทย์คลินิก สาขาอายุรศาสตร์ l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ 2520 แพทยสภา ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ทั่วไป l Certificate Research Fellowship in 2527 Johns Hopkins University, Clinical Pharmacology and Baltimore, Maryland, USA. Experimental Therapeutics l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ 2527 แพทยสภา ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์โรคไต ตำแหน่งต่างๆ l ประธานคณะกรรมการดำเนินการจัดงานมหกรรมคุณภาพ พ.ศ.2545-2549 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l รองผู้อำนวยการฯ ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ พ.ศ.2546-2550 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l ประธานจัดประชุม International Congress of Nephrology 2005 พ.ศ.2547-2548 Satellite Meeting on Dialysis Technologies, July 1-3, 2005 l ประธานคณะกรรมการดำเนินงานปลูกถ่ายไต พ.ศ.2544-ปัจจุบัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ l ประธานอนุกรรมการบัญชียาหลักแห่งชาติ สาขาโรคไตและ พ.ศ.2546-ปัจจุบัน ทางเดินปัสสาวะ l ประธานอนุกรรมการเลือกตั้งสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย พ.ศ.2549-ปัจจุบัน รางวัล l รางวัล“ยกย่องเชิดชูเกียรติกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช” พ.ศ.2547 ประเภท “อาจารย์ดีเด่น” ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย l รางวัล “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” สาขา “วิทยาศาสตร์สุขภาพ” พ.ศ.2549 ของ ประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)

“ศาสตราจารย์” ระดับ 11 รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 รพ.ที่น่าเชื่อถือที่สุด ( เพิ่มเติมจากฉบับที่ 19 )

BACKGROUND นับเป็นปีที่ 3 ที่นิตยสาร thaicoon จัดทำวิจัยMost Admired Companies ขึ้นมาและก็เช่นเดียวกับการศึกษาในปี2009 คือ พื้นที่วิจัย จำกัดอยู่เฉพาะ กรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล เนื่องจากได้ข้อสรุปจากการวิจัยก่อนหน้านี้แล้วว่า กลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในต่างจังหวัดให้ความสนใจกับกิจการ มีน้อยมาก สำหรับ ปี 2010 นี้ กลุ่มธุรกิจที่ศึกษามีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 13 กลุ่ม เพิ่มจากปีก่อนหน้านี้ 1 กลุ่ม โดยกลุ่มที่เพิ่มขึ้นมาคือกลุ่มองค์การมหาชนและหน่วยงานพิเศษ ดังนี้

ต่อหน้า 2

Page 2: รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 “ศาสตราจารย์ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/Spotlightvol20.pdf · 2011-12-06 · “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน”

HOW WE GET THE MOST ADMIRED COMPANIES

เช่นเดียวกับงานวิจัยปี 2009 งานวิจัยในปีนี้ (2010) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการทำวิจัยโดยผู้ตอบแบบสอบถาม ถูกขอให้ดูโลโก้ของบริษัทพร้อมกับชื่อบริษัทในแต่ละกลุ่ม และ ถูกขอให้ระบุความเห็นที่มีต่อโลโก้และชื่อบริษัทเหล่านั้นว่าประสบความสำเร็จในแต่ละประเด็นศึกษาเช่นไร คะแนนในแต่ ละประเด็นเท่าไรจาก สเกล 0 – 5 โดยที่ 0 = ไม่มีข้อมูล 1 = ไม่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง และ 10 = ประสบ ความสำเร็จสูงสุด โดยผู้ที่ได้รับเลือกให้ตอบแบบสอบถามทุกคนจะถูกคัดเฉพาะ (Qualify) ผู้ที่เคยเห็นโลโก้และรู้จักบริษัท ที่ศึกษาเท่านั้น กลุ่มตัวอย่าง

ลักษณะทั่วไป : กลุ่มตัวอย่างสำหรับการทำวิจัยครั้งนี้ทั้งสิ้น400 ตัวอย่าง ผลวิจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลประชากรกลุ่มตัวอย่าง มีดังนี้ เพศ : สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามนั้นพบว่า เพศชาย มีสัดส่วนน้อยกว่า เพศหญิง เล็กน้อย โดยมี เพศชาย ทั้งสิ้น 192 คน (48%)และเพศหญิง 208 คน (52%) อายุ : ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ 283 คน (70.8%) เป็น ผู้ที่มีอายุระหว่าง 22−40 ปี แยกเป็นกลุ่มอายุ 22−30 ปี 155 คน (38.8%) และกลุ่มอายุระหว่าง 31−40 ปี 128 คน (32%)

รายได้ : สำหรับรายได้ของกลุ่มตัวอย่างนั้นพบว่าใกล้เคียงกับ ปี 2008 และ 2009 กล่าวคือ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ 187 คน (46.8%) เป็นผู้มีรายได้อยู่ในช่วง10−19,999 บาท (ปี 2008 มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มนี้จำนวน 47.25% ขณะที่ปี 2009 มีจำนวน42.62%)รายละเอียดดังนี้ อาชีพ : ผลวิจัยพบว่า เช่นเดียวกับปีก่อนหน้านี้ กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ 198 คน (49.5%) เป็น พนักงานบริษัทเอกชน (ปี2008มี43.75%ขณะที่ปี2009มี42.67%)รองลงมาคือกลุ่มข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีจำนวนทั้งสิ้น109 คน (27.3%)(ปี2008มี32.75%ขณะที่ปี2009มี33%) การศึกษา : ผลวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ 345 คน (86.3%) เป็นผู้ที่มีการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี (ปี 2008 มีทั้งสิ้น 89.25% ขณะที่ปี2009มี86.67%)

2

Page 3: รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 “ศาสตราจารย์ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/Spotlightvol20.pdf · 2011-12-06 · “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน”

5. ไม่มี“ข้อครหาทางการเงิน − บัญชี” ที่เสื่อมเสีย (No Accounting Fraud Accusation) กลุ่มตัวแปรที่ 4 : บริการ (Services) 1. สินค้าที่ ให้บริการมี “ปริมาณ” เหมาะสม (Suitable quantity of services) 2. สินค้าที่ให้บริการมีความ“หลากหลาย” (Suitable variety of services) 3. สถานที่/สาขาให้บริการมี “จำนวนมาก” (Many service locations) 4. สถานที่ ให้บริการ “สะดวก” ต่อการเข้าไปใช้บริการ (Convenient to use service at service points) 5. สถานที่ให้บริการใช้บริการได้ง่าย“สบาย” (Service points are comfortable for using services) 6. พนักงานให้“เกียรติ” ลูกค้าดี(Staffs respect customers) 7. พนักงานให้บริการ“จากใจ” (Staffs offer services with real service minds) กลุ่มตัวแปรที่ 5 : ภาพลักษณ์ของแบรนด์ของกิจการ (Image of Brand Owend) 1. เป็นเจ้าของแบรนด์ที่“แข็งแกร่ง” (Own strong brands) 2. เป็นเจ้าของแบรนด์ที่ “เติบโตต่อเนื่อง” (Own growing brands) 3. เป็นเจ้าของแบรนด์ที่ “มีลูกค้าภักดีต่อแบรนด์” (Own brands with customer loyalty) 4. เป็นเจ้าของแบรนด์ที่ “มีมูลค่าสูง” (Own brands with high value) กลุ่มตัวแปรที่ 6 : ผู้บริหาร (Management) 1. เป็นองค์กรที่สามารถ“ดึงคนเก่งมาร่วมงานได้” (Ability to recruit talents) 2. เป็นองค์กรที่สามารถ “รักษาคนเก่ง” ให้มาร่วมงานต่อเนื่อง (Ability to keep talents continuously) 3. เป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญกับการ “พัฒนาพนักงานให้มี ความสามารถเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง” (Make staff development a priority) 4. พนักงานทุกระดับจัดเป็น “คนมีคุณภาพ” (Quality staffs at all levels) 5. มี“ผู้บริหารที่มีความสามารถ” (Quality management team) 6. ผู้บริหารสามารถ “ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้ดี” (Management is good at respond to change) 7. “ความสำเร็จอันโดดเด่นของผู้บริหารระดับสูง” เป็นที่รับรู้ ทั่วไป (High level of management out standing success is know)

5 - 6 GROUPS OF ATTRIBUTES

ในการค้นหาMost Admired Companies ของงานวิจัยครั้งนี้นั้น คณะทำงานได้ศึกษา กลุ่มตัวแปรสำคัญ 6 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มตัวแปรที่ 1 : ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ใหม่ๆ (Innovation) กลุ่มตัวแปรที่ 2 : ภาพลักษณ์องค์กร และ ความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate CSR Image) กลุ่มตัวแปรที่ 3 : การประกอบธุรกิจ และ ความสำเร็จ ของธุรกิจ (Business Achievement & Practice) กลุ่มตัวแปรที่ 4 : บริการ (Services) กลุ่มตัวแปรที่ 5 : ภาพลักษณ์ของแบรนด์ของกิจการ (Image of Brand Owend) กลุ่มตัวแปรที่ 6 : ผู้บริหาร (Management) ทั้งนี้ ในบรรดากลุ่มธุรกิจทั้งหมด 13 กลุ่มนั้น มี 11 กลุ่มธุรกิจที่งานวิจัยนี้ศึกษาครบทั้ง 6 กลุ่มตัวแปร มีเพียงธุรกิจเครื่องดื่มและธุรกิจพาณิชย์ที่ศึกษาเพียง 5 กลุ่มตัวแปร ยกเว้นกลุ่มตัวแปรที่เกี่ยวกับการบริการเนื่องจากกลุ่มธุรกิจทั้งสองไม่มีความแตกต่างที่โดดเด่นชัดเจนในประเด็นนี้ ตัวแปรย่อยสำหรับแต่ละกลุ่มตัวแปรมีดังนี้

กลุ่มตัวแปรที่ 1 : ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ (Innovation) 1. การมี“ศักยภาพ”ในการคิดค้นสิ่งใหม่ๆ(Capability) 2. คิดค้นสิ่งใหม่ๆออกมาให้เห็น“จับต้องได้” (Achievability) 3. “พัฒนาการใหม่” (Improving with something new) 4. การมีความคิด“สร้างสรรค์” (Creativity) กลุ่มตัวแปรที่ 2 : ภาพลักษณ์องค์กร และ ความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate CSR Image) 1. “ไม่เคยทำอะไรเสียหายกับสังคม” (Do-no-Evil) 2. ร่วม “บริจาคเงิน”อยู่เสมอ (Join Donation Activities) 3. มคีวาม “รบัผิดชอบต่อสงัคม” (Community Responsibility) 4. มีความ “รบัผดิชอบตอ่สิง่แวดลอ้ม” (Evironment Responsibility) 5. “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน” (Care for Global Warming) กลุ่มตัวแปรที่ 3 : การประกอบธุรกิจ และ ความสำเร็จของธุรกิจ (Business Achievement & Practice) 1. “มีความสามารถในการทำกำไร” (Profitability) 2. “ทำธุรกิจทั่วโลก” (Global Operation/Reach) 3. มีการ “ขยายตัว” ของธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ (Continuous Expansion) 4. กิจการ “เติบโตแบบยั่งยืน” (Sustainable Growth)

3

Page 4: รพ.จุฬาฯ : อันดับ 1 “ศาสตราจารย์ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/Spotlightvol20.pdf · 2011-12-06 · “ใส่ใจในปัญหาโลกร้อน”

หน่วยประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ตึกอานันทมหิดล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โทร. (02) 256 4183, 256 4462 โทรสาร (02) 252 5959 http://www.md.chula.ac.th

ติดตามอ่าน “สารสัมพันธ์” ฉบับ “Spotlight” ได้ที่ http://www.md.chula.ac.th/thai

13 BUSINESS SECTORS 228 COMPANIES

สำหรับงานวิจัยครั้งนี้ได้มีการศึกษาภาพลักษณ์บริษัทต่างๆ228 บริษัท แยกรายละเอียดได้ดังนี้

ข้อมูล : นิตยสาร “Thaicoon The Company” ปีที่ 3 ฉบับที่ 150 ประจำเดือนพฤษภาคม 2553

โรงพยาบาล : กิจการที่ ได้รับเลือกว่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุดในกลุ่มโรงพยาบาลคือ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้ค่าเฉลี่ยรวมทุกตัวแปรรวมกันคือ6.03 ทั้งนี้หากดูค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวแปรอื่นประกอบก็ทำให้ประเมินได้ว่า “โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มีภาพลักษณ์ประสบความสำเร็จอย่างมากในประเด็นภาพลักษณ์ของแบรนด์ของกิจการ”