32
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที63 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีท1 ภาคเรียนที2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที6 เรื่อง การเกิดเสียง (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู1. อธิบายลักษณะของการเกิดเสียงได้ ( K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น ( A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ( A) 4. ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ( A) 5. สื่อสารและนาความรู้เรื่องการเกิดเสียงไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ( P) 4. สาระสาคัญ เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ โดยวัตถุที่เกิดการสั่น เรียกว่า แหล่งกาเนิดเสียง 5. สาระการเรียนรูการเกิดเสียง 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู3. มุ่งมั่นในการทางาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดาเนินชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

  • Upload
    others

  • View
    36

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเกิดเสียง (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของการเกิดเสียงได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการเกิดเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ โดยวัตถุท่ีเกิดการสั่น เรียกว่า แหล่งก าเนิดเสียง

5. สาระการเรียนรู้ การเกิดเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

Page 2: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สังเกตการเกิดเสียง

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูด าเนินการทดสอบก่อนเรียนโดยให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพร้อมและพ้ืนฐานของนักเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูให้นักเรียนท ากิจกรรมร่วมกันโดยให้นักเรียนพูดและใช้นิ้วมือแตะบริเวณล าคอขณะที่ออกเสียง แล้วตั้งค าถามดังนี้

– ขณะที่นักเรียนพูด บริเวณท่ีใช้นิ้วมือแตะมีลักษณะอย่างไร (แนวค าตอบ สั่น) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง

การเกิดเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลับด้าน

ชั้นเรียน (flipped classroom) ซึ่งมีข้ันตอนดังนี ้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดเสียง ที่ครู

มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรยีน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึกของนักเรียน และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้

– เมื่อวัตถุเกิดการสั่นจะท าให้เกิดสิ่งใดขึ้น (แนวค าตอบ เสียง) – นอกจากเสียงพูดแล้วมีวิธีอ่ืนที่ท าให้เกิดเสียงได้หรือไม่ ยกตัวอย่าง (แนวค าตอบ ได้ เช่น การ

ใช้ไม้เคาะระฆัง) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นค าถามที่นักเรียนสงสัยจากการท าภาระงานอย่างน้อยคนละ 1

ค าถาม ซึ่งครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เสียงเกิดจาก

การสั่นของวัตถุ

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับการเกิดเสียง จากหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า

เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ โดยวัตถุท่ีท าให้เกิดเสียง เรียกว่า แหล่งก าเนิดเสียง (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 3 – 4 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 19 สังเกตการเกิดเสียง ตามข้ันตอนดังนี้

– นักเรียนตัดลูกโป่งแล้วน ามาครอบปากแก้วให้ตึง – โรยทรายลงบนแผ่นลูกโป่ง – เคาะแผ่นลูกโป่ง แล้วดูการเปลี่ยนแปลงของทราย – บอกสิ่งต่างๆ ที่ได้ดู

Page 3: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

(3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– แผ่นลูกโป่งท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ ท าหน้าที่เป็นแหล่งก าเนิดเสียง) – ทุกครั้งที่มีการเกิดเสียง แผ่นลูกโป่งมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ แผ่น

ลูกโป่งมีการเปลี่ยนแปลง โดยแผ่นลูกโป่งซึ่งเป็นแหล่งก าเนิดเสียงจะสั่น) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เสียงเกิดจาก

การสั่นสะเทือนของวัตถุ นักวิทยาศาสตร์เรียกวัตถุที่สั่นสะเทือนว่า แหล่งก าเนิดเสียง ซึ่งการเกิดเสียงสามารถท าได้หลายวิธี เช่น การดีด สี ตี และเป่า

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดเสียง จากหนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต แล้วน าข้อมูลมาจัดท าเป็นป้ายนิเทศเพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้กับเพ่ือนในห้อง

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น – อวัยวะใดที่ท าให้เราได้ยินเสียง – เสียงเกิดจากอะไร

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเกิดเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

10. สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. ใบกิจกรรมที่ 19 สังเกตการเกิดเสียง 3. หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรือ

อินเทอร์เน็ต 4. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 5. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 4: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง การเกิดเสียง 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ

กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้

แบบทดสอบก่อนเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

Page 5: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้

1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .........................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. .........................

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

Page 6: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ...................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................... .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................

Page 7: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 64

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเกิดเสียง (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดเสียงได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการเกิดเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ โดยวัตถุท่ีเกิดการสั่น เรียกว่า แหล่งก าเนิดเสียง

5. สาระการเรียนรู้ การเกิดเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

Page 8: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สังเกตเสียงจากขวดน้ า

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเกิดเสียง โดยครูถามค าถามกับนักเรียนว่า เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร (แนวค าตอบ เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ)

2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรื่อง การเกิดเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีข้ันตอนดังนี้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)

(1) ครูใส่น้ าลงในแก้วน้ าใสประมาณ

ของแก้ว จากนั้นใช้ไม้เคาะแก้ว ให้นักเรียนฟังเสียงและสังเกต

การเปลี่ยนแปลงของน้ าในแก้ว แล้วครูถามค าถามกับนักเรียนดังนี้ – ทุกครั้งที่มีการเกิดเสียง น้ าในแก้วมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ มีการ

เปลี่ยนแปลง คือ น้ าในแก้วจะกระเพ่ือมข้ึน – ลง) (2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) นักเรียนจับคู่กันปฏิบัติกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 11 เสียงจากขวดน้ า ตามข้ันตอนดังนี้

– น าขวดน้ าพลาสติกท้ัง 6 ขวด วางเรียงบนโต๊ะ – เขียนหมายเลข 1– 6 ก ากับขวดน้ าพลาสติก – ใส่น้ าลงไปในขวดหมายเลข 1– 6 ให้ระดับน้ าแตกต่างกันจากน้อยไปมาก – ใช้ดินสอเคาะข้างขวดทีละขวด แล้วฟังเสียงที่เกิดข้ึน – สลับขวดแล้วใช้ดินสอเคาะ จากนั้นฟังเสียงที่เกิดขึ้น

(2) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– เมื่อนักเรียนเคาะขวดน้ าจะเกิดสิ่งใดข้ึน (แนวค าตอบ เกิดเสียงขึ้น) – ขณะที่นักเรียนเคาะขวดน้ า น้ าในขวดน้ ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ มีการ

เปลี่ยนแปลง โดยน้ าในขวดน้ าจะกระเพ่ือม) – เสียงเคาะขวดน้ าแต่ละขวดแตกต่างกันหรือไม่ (แนวค าตอบ แตกต่างกัน)

Page 9: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า การสั่นของวัตถุท าให้เกิดเสียง โดยการสั่นนี้อาจช้าจนสามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือเร็วมากจนไม่สามารถสังเกตเห็นด้วยตาเปล่าได้

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูแนะน าให้นักเรียนลองสังเกตการเกิดเสียงต่างๆ ที่พบในชีวิตประจ าวัน แล้วน าข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพ่ือนๆ ในห้องเรียน

(2) นักเรียนค้นคว้าค าศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับการเกิดเสียง จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพ่ือนในห้องฟัง แล้วคัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น – เสียงที่นักเรียนได้ยินในชีวิตประจ าวันมีอะไรบ้าง – ถ้าวัตถุไม่มีการสั่นจะท าให้เกิดเสียงขึ้นหรือไม่

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเกิดเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผัง มโนทัศน์

10. สื่อการเรียนรู้ 1. แก้วพลาสติกใส 1 ใบ 2. น้ า 1 ขวด 3. ไม้เคาะ 1 อัน 4. ใบกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 11 เสียงจากขวดน้ า 5. หนังสือเรียนภาษต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต 6. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 7. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 8. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 9. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 10: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง การเกิดเสียง 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ

กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน

ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ...................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. .........................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. .......................................................................................... .....................................................................................

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) ........................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... .........................

Page 11: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................

Page 12: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 65

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จ าแนกแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องแหล่งก าเนิดเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ แหล่งก าเนิดเสียงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ เช่น เสียงนกร้อง เสียงลมพัด และเสียงฟ้าร้อง และแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เสียงพูดคุยและเสียงเคาะประตู

5. สาระการเรียนรู้ การเกิดเสียง

– แหล่งก าเนิดเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

Page 13: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สังเกตแหล่งก าเนิดเสียง

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูทบทวนเกี่ยวกับการเกิดเสียงที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว โดยใช้ประเด็นค าถามต่อไปนี้

– เมื่อวัตถุเกิดการสั่นจะท าให้เกิดสิ่งใดขึ้น (แนวค าตอบ เสียง) – วัตถุท่ีเกิดการสั่นเรียกว่าอะไร (แนวค าตอบ แหล่งก าเนิดเสียง)

2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีข้ันตอนดังนี ้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูสนทนากับนักเรียน โดยครูใช้ค าถามกระตุ้นดังนี้

– แหล่งก าเนิดเสียงรอบตัวของนักเรียนมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ เสียงพูด เสียงนกร้อง และเสียงฝนตก)

– เสียงที่นักเรียนได้ยินเป็นแหล่งก าเนิดเสียงแบบใด (แนวค าตอบ เสียงนกและเสียงฝนตกเป็นแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ และเสียงพูดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น)

(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียง จากหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ

ว่า แหล่งก าเนิดเสียงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นแหล่งก าเนิดเสียง ที่เกิดจากการสั่นของวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งเป็นแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์ท าให้วัตถุเกิดการสั่น จึงท าให้เกิดเสียงขึ้น

(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 3 – 4 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 20 สังเกตแหล่งก าเนิดเสียง ตามข้ันตอนดังนี้ – ฟังเสียงต่างๆ บริเวณรอบโรงเรียน – บอกชื่อสิ่งที่ได้ยิน

(3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ บริเวณที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– นักเรียนใช้เกณฑ์ใดในการจ าแนกแหล่งก าเนิดเสียง (แนวค าตอบ ลักษณะการเกิดเสียง) – แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ เสียงสุนัขเห่า เสียงนกร้อง และเสียง

ลมพัด) – แหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างข้ึนมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ เสียงพูดคุย และเสียงเคาะโต๊ะ)

Page 14: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่ าแหล่งก าเนิดเสียงในบริเวณโรงเรียนมี 2 กลุ่ม คือ แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหล่งก าเนิดเสียง ที่มนุษย์สร้างขึ้น

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูแนะน าให้นักเรียนสังเกตเสียงต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน แล้วจ าแนกว่า เสียงที่ได้ยินจัดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติหรือแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น และน าข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพ่ือนๆ ในห้องเรียน

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น – แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติคืออะไร – แหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างข้ึนคืออะไร

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

10. สื่อการเรียนรู้

1. ใบกิจกรรมที่ 20 สังเกตแหล่งก าเนิดเสียง 2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 5. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 15: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน

ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ .........................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

Page 16: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................

Page 17: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 66

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จ าแนกแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องแหล่งก าเนิดเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ แหล่งก าเนิดเสียงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ เช่น เสียงนกร้อง เสียงลมพัด และเสียงฟ้าร้อง และแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เสียงพูดคุยและเสียงเคาะประตู

5. สาระการเรียนรู้ การเกิดเสียง

– แหล่งก าเนิดเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

Page 18: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน เกมใบ้เสียงปริศนา

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูทบทวนเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียงที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว โดยใช้ประเด็นค าถามต่อไปนี้

– แหล่งก าเนิดเสียงคืออะไร (แนวค าตอบ วัตถุท่ีท าให้เกิดเสียง) – แหล่งก าเนิดเสียงแบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 2 กลุ่ม คือ แหล่งก าเนิดเสียงตาม

ธรรมชาติและแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้

เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีข้ันตอนดังนี ้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูเขียนตัวอย่างแหล่งก าเนิดเสียงต่างๆ บนกระดาน เช่น เสียงฝนตก เสียงไอ เสียงคลื่นทะเล เสียง

ไก่ขัน และเสียงรถยนต์ แล้วถามค าถามกับนักเรียนดังนี้ – แหล่งก าเนิดเสียงใดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ (แนวค าตอบ เสียงฝนตก เสียงคลื่น

ทะเล และเสียงไก่ขัน) – แหล่งก าเนิดเสียงใดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น (แนวค าตอบ เสียงไอ และเสียง

รถยนต์) (2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 12 ใบ้เสียงปริศนา ตามข้ันตอนดังนี้

– แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม – ครูเตรียมบัตรค าหรือสลากท่ีระบุเสียงต่างๆ ไว้ – ให้กลุ่มที่ 1 ส่งตัวแทนออกมาจับสลากและท าเสียงตามที่ระบุไว้ในสลาก ให้สมาชิกคนอ่ืนๆ ใน

กลุ่มช่วยกันฟังและทายว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเสียงอะไร และเป็นแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติหรือแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นภายในเวลา 1 นาที ถ้าตอบถูกได้ 2 คะแนน ถูกครึ่งเดียวได้ 1 คะแนน และถ้าตอบผิดไม่ได้คะแนน

– ให้กลุ่มที่ 2, 3 และ 4 ท าเช่นเดียวกันตามล าดับ วนไป 5 รอบ – นักเรียนทุกคนช่วยกันรวมคะแนน กลุ่มท่ีได้คะแนนมากท่ีสุดเป็นฝ่ายชนะ

(2) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน

Page 19: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น – นักเรียนทายชื่อเสียงที่ได้ยินชนิดใดถูกต้อง (แนวค าตอบ เสียงแมวร้อง เสียงไอ เสียงไก่ขัน

เสียงรถยนต์ และเสียงสุนัขเห่า) – เสียงที่เพ่ือนใบ้มีเสียงใดที่เป็นแหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติ (แนวค าตอบ เสียงแมวร้อง เสียง

สุนัขเห่า เสียงนกร้อง และเสียงไก่ขัน) – เสียงที่เพ่ือนใบ้มีเสียงใดที่เป็นแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น (แนวค าตอบ เสียงตบมือ เสียง

ไอ เสียงรถยนต์ และเสียงตีกลอง) (3) ครูสรุปเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียงให้นักเรียนเข้าใจว่า แหล่งก าเนิ ดเสียงตามธรรมชาติเป็น

แหล่งก าเนิดเสียงที่เกิดจากการสั่นของวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์ท าให้วัตถุเกิดการสั่น จึงท าให้เกิดเสียงขึ้น

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) นักเรียนค้นคว้าค าศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียง จากหนังสือเรียนภาษา ต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพ่ือนในห้องฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้าง ที่ยังไม่

เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข

อย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ

การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น

– แหล่งก าเนิดเสียงตามธรรมชาติแตกต่างจากแหล่งก าเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างไร – เสียงรถยนต์ เสียงจาม และเสียงเคาะโต๊ะจัดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงแบบใด – เสียงฟ้าร้อง เสียงวัวร้อง และเสียงลมพัดจัดเป็นแหล่งก าเนิดเสียงแบบใด

ขั้นสรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือ ผังมโนทัศน์

2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ ครั้งต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการเคลื่อนที่ของเสียง

3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพ่ือน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียนครั้งต่อไป

10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 12 ใบ้เสียงปริศนา 2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต 3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 20: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 6. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง แหล่งก าเนิดเสียง

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน

ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... .........................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

Page 21: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. .........................

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ........................................................................................................................................ ................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................

Page 22: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 67

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ เสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก าเนิดเสียงทุกทิศทาง

5. สาระการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

Page 23: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สังเกตการเคลื่อนที่ของเสียง

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูถามค าถามนักเรียนเพ่ือกระตุ้นความสนใจ เช่น

– เราได้ยินเสียงจากแหล่งก าเนิดเสียงได้อย่างไร (แนวค าตอบ เสียงมีการเคลื่อนที่) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง

การเคลื่อนที่ของเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีข้ันตอนดังนี ้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง

ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึกของนักเรียน และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้

– นักเรียนคิดว่าเสียงเคลื่อนที่ในทิศทางใดบ้าง (แนวค าตอบ ทุกทิศทาง) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นค าถามที่นักเรียนสงสัยจากการท าภาระงานอย่างน้อยคนละ 1

ค าถาม ซึ่งครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เสียงเคลื่อนที่

ออกจากแหล่งก าเนิดเสียงในทุกทิศทาง

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับการเคลื่อนที่ของเสียง จากหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน

เข้าใจว่า เสียงเคลื่อนท่ีออกจากแหล่งก าเนิดเสียงทุกทิศทาง (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 6 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 21 สังเกตการเคลื่อนที่ของเสียง ตามข้ันตอนดังนี้

– ให้นักเรียน 5 คนยืนอยู่ในต าแหน่งต่างๆ – นักเรียน 1 คนยืนอยู่กลางห้องแล้วตะโกน เคาะโต๊ะ และเคาะแก้วน้ า – นักเรียน 5 คนที่ยืนในต าแหน่งต่างๆ ฟังเสียง แล้วบอกว่าได้ยินเสียงตะโกน เสียงเคาะโต๊ะ และ

เสียงเคาะแก้วน้ าหรือไม่ (3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส

ให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

Page 24: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

– นักเรียนที่อยู่ต าแหน่งใดบ้างที่ได้ยินเสียงตะโกน เสียงเคาะโต๊ะ และเสียงเคาะแก้วน้ า (แนวค าตอบ หน้าห้อง หลังห้อง ข้างห้อง ใต้โต๊ะ และบนเก้าอ้ี)

– เสียงตะโกน เสียงเคาะโต๊ะ และเสียงเคาะแก้วน้ า เคลื่อนที่ไปในทิศทางใดบ้าง (แนวค าตอบ ทุกทิศทาง)

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก าเนิดเสียงในทุกทิศทาง เพราะไม่ว่าจะยืนอยู่ในต าแหน่งใดก็จะได้ยินเสียงต่างๆ

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูให้นักเรียนลองสังเกตการเคลื่อนที่ของเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจ าวัน

(2) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง จากหนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต แล้วน าข้อมูลมาจัดท าเป็นป้ายนิเทศเพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้กับเพ่ือนในห้องเรียน

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น – เสียงเคลื่อนที่ไปได้ทุกบริเวณหรือไม่ เพราะเหตุใด

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 21 สังเกตการเคลื่อนที่ของเสียง 2. หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรือ

อินเทอร์เน็ต 3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 6. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 25: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน

ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. .........................

Page 26: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................... .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................

Page 27: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 68

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 11101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............เดือน..........................................พ.ศ....................... ครูผู้สอน อ.ณฐพล อยู่เป็นสุข ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วัดชั้นปี บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3 ป. 1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะการเคลื่อนที่ของเสียง (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ท างานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของเสียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ เสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก าเนิดเสียงทุกทิศทาง

5. สาระการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของเสียง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

Page 28: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน ประดิษฐ์โทรโข่งนักพูด

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูถามค าถามนักเรียนเพ่ือทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง เช่น

– เสียงมีการเคลื่อนที่หรือไม่ (แนวค าตอบ เสียงมีการเคลื่อนที่) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้

เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีข้ันตอนดังนี ้

1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูสนทนากับนักเรียน โดยครูใช้ค าถามกระตุ้นดังนี้

– เสียงเคลื่อนที่จากแหล่งก าเนิดเสียงในทิศทางใด (แนวค าตอบ ทุกทิศทาง) (2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน

2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 4 – 5 คน ปฏิบัติกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 13 ประดิษฐ์โทรโข่งนักพูด ตาม

ขั้นตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มช่วยกันเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ – น ากระดาษแข็งมาตัดเป็นครึ่งวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร – ม้วนกระดาษแข็งให้เป็นรูปกรวย แล้วติดเทปกาวให้คงรูปไว้ – น าแกนกระดาษทิชชูมาติดเพ่ือท าเป็นที่จับ – วาดรูปใส่กระดาษ ระบายสีให้สวยงาม แล้วน ามาตัดและติดตกแต่งโทรโข่งให้สวยงาม – ทดลองใช้โทรโข่ง โดยให้ตัวแทนหนึ่งคนยืนอยู่หน้าห้อง และอีกหนึ่งคนยืนอยู่หลังห้อง จากนั้น

ให้เพ่ือนพูดโดยไม่ผ่านโทรโข่งและผ่านโทรโข่ง ตามล าดับ คนที่อยู่หลังห้องฟังเสียง แล้วบอกว่าได้ยินเสียงหรือไม ่

(2) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– การพูดโดยไม่ใช้โทรโข่งกับการพูดโดยใช้โทรโข่งแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ แตกต่างกัน เพราะการพูดโดยใช้โทรโข่งจะเสียงดังกว่าการพูดโดยไม่ใช้โทรโข่ง)

– ถ้านักเรียนยืนอยู่กลางห้องแล้วพูดผ่านโทรโข่ง เพ่ือนที่อยู่หน้าห้องและเพ่ือนที่อยู่หลังห้องจะได้ยินเสียงที่นักเรียนพูดหรือไม่ เพราะอะไร (แนวค าตอบ ได้ยิน เพราะเสียงเคลื่อนท่ีในทุกทิศทาง)

Page 29: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก าเนิดเสียงทุกทิศทาง แต่จะได้ยินเสียงดังหรือเสียงค่อยแตกต่างกันตามระยะห่างของแหล่งก าเนิดเสียงนั้น

4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) นักเรียนค้นคว้าค าศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพ่ือนในห้องฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู

5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบค าถาม เช่น – ถ้าพ่อยืนอยู่หน้าบ้านและแม่ยืนอยู่หลังบ้าน เมื่อเราตะโกนเรียกพ่อและแม่จากในบ้าน พ่อและ

แม่จะได้ยินเสียงเราหรือไม่ เพราะเหตุใด

ขั้นสรุป

1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน ์

2) ครูด าเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดความก้าวหน้า/ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ของนักเรียน

3) ครูเชื่อมโยงเนื้อหาจากบทเรียนนี้กับบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนชั่วโมงต่อไป โดยการใช้ค าถามกระตุ้น ดังนี้

– เมือ่เราน าหิน 2 ก้อนมาเคาะกัน จะท าให้เกิดเสียงขึ้นหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ เกิดเสียงขึ้น เนื่องจากหินเป็นแหล่งก าเนิดเสียง)

4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ ครั้งต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อลักษณะภายนอกของหิน

5) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพ่ือน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียนครั้งต่อไป

10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 13 ประดิษฐ์โทรโข่งนักพูด 2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต 3. แบบทดสอบหลังเรียน 4. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Page 30: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

5. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 6. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 7. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ

จิตวิทยาศาสตร์ (A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. ซักถามความรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน

3. ทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน

1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ประเมินทักษะการคิดโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหาโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยการสังเกตการท างานกลุ่ม

Page 31: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้

1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้

1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................

แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................

2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................

3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... .........................

4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) ................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................

12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………….12.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ.................................................. (.................................................) ต าแหน่ง.....................................

Page 32: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63elsd.ssru.ac.th/natapon_yo/pluginfile.php/20/block_html/content... · บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

แผนการจัดการเรยีนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป. 1

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ................................................ ................แลว้มีความเห็นดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... .................................................

ลงชื่อ.................................................. (.................................................)

ต าแหน่ง............................................