16
1 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ .. 2560 แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) ประเภท รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบบันทึกการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ เพื่อเฝ้าระวังควบคุม โรคติดต่อสาหรับด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ชื่อส่วนราชการ : กรมควบคุมโรค หน่วยงานที่รับผิดชอบผลงาน : สานักงานป้องกันควบคุมโรคที12 จังหวัดสงขลา ชื่อผู้ประสานงาน นายราเชนทร์ แตงอ่อน ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานัก/กอง/กลุ่มตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรศัพท์มือถือ 089-4656999 e Mail [email protected] เบอร์โทรสาร 074-336084 ชื่อผู้ประสานงาน นายอดิศักดิ์ พงศ์วิทยาพิทักษ์ ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานัก/กอง/กลุ่มตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรศัพท์มือถือ 089-4664384 e Mail [email protected] เบอร์โทรสาร 074-336084 ชื่อผู้ช่วยเขียน นางอัจฉรา จุลละพราหมณ์ สานัก/กอง/กลุ่มพัฒนาองค์กร เบอร์โทรศัพท์มือถือ 091-4042867 e Mail ach_40@yahoo.com ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรสาร 074-336084

แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

1

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ

(Thailand Public Service Awards)

ประเภท รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง

ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบบันทึกการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ เพ่ือเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อส าหรับด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

ชื่อส่วนราชการ : กรมควบคุมโรค

หน่วยงานที่รับผิดชอบผลงาน : ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา

ช่ือผู้ประสานงาน นายราเชนทร์ แตงอ่อน ต าแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ ส านัก/กอง/กลุ่มตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรศัพท์มือถือ 089-4656999 e – Mail [email protected]

เบอร์โทรสาร 074-336084

ช่ือผู้ประสานงาน นายอดิศักดิ์ พงศ์วิทยาพิทักษ์ ต าแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ ส านัก/กอง/กลุ่มตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรศัพท์มือถือ 089-4664384 e – Mail [email protected]

เบอร์โทรสาร 074-336084

ช่ือผู้ช่วยเขียน นางอัจฉรา จุลละพราหมณ ์ส านัก/กอง/กลุ่มพัฒนาองค์กร เบอร์โทรศัพท์มือถือ 091-4042867 e – Mail [email protected]

ต าแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ เบอร์โทรศัพท์ 074-336080-3 เบอร์โทรสาร 074-336084

Page 2: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

2

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มที่ 2

แบบฟอร์มประเมินลักษณะของผลงานท่ีสมัครขอรับรางวัลเบื้องต้น

แบบฟอร์มประเมินลักษณะของผลงานที่สมัครขอรับรางวัลเบื้องต้น

ค าอธิบาย : กรณีหน่วยงานที่ส่งสมัครขอรับรางวัลประเภทรางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ และรางวัลการพัฒนา การบริการที่เป็นเลิศ โปรดกรอกแบบฟอร์มนี้ตามประเภทรางวัลที่ส่งสมัคร

ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบบันทึกการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ เพื่อเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อส าหรับด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

ชื่อหน่วยงาน : ส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 12 จังหวัดสงขลา ถนนสงขลา-นาทวี อ าเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000

รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ

โปรดท าเครื่องหมาย ในคุณสมบัติดังต่อไปนี้ที่ตรงกับผลงานของท่าน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)

เป็นผลงานที่มีการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร/จดลิขสิทธิ์

เป็นผลงานที่คิดค้นมาไม่เกิน 3 ปี

เป็นผลงานที่มีการน าผลงานไปใช้แล้วจริงเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และได้รับการ ยอมรับจากสาธารณะ

เป็นผลงานมีผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบการบริหารจัดการและการให้บริการ ประชาชน

เป็นผลงานสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ที่ไม่เคยมีในเมืองไทยมาก่อน

Page 3: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

3

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มที่ 3

แบบฟอร์มรายงานผลการด าเนินการ

แบบฟอร์มบทสรุปสาระส าคัญของผลงานที่เสนอขอรับรางวัล (Executive Summary)

ประเภทรางวัล : รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบบันทึกการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ เพ่ือเฝ้าระวังควบคุม

โรคติดต่อส าหรับด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ชื่อหน่วยงาน : ส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 12 จังหวัดสงขลา ถนนสงขลา-นาทวี อ าเภอเมือง

จังหวัดสงขลา 90000 สรุปผลงานโดยย่อ : 1.1 สภาพการปฏิบัติงานเดิม

ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มีหน้าที่ เฝ้าระวัง ตรวจตรา ด าเนินการหรือก าหนดให้มีการปฏิบัติเพ่ือขจัดหรือป้องกันการแพร่ระบาดของโรค รวมทั้งภัยคุกคามทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 และกฎหมายอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งต้องพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศในด้านต่างๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การปฏิบัติงานสมรรถนะหลักที่ต้องมีในภาวะปกติ และการรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขที่อาจลุกลามข้ามประเทศ โดยมีกิจกรรมการด าเนินงาน ได้แก่

1.ตรวจคัดกรองผู้โดยสารจากเขตติดโรคไข้เหลือง (จากแอฟริกาและอเมริกาใต้) เพ่ือป้องกันโรคเข้าในราชอาณาจักร และบริการฉีดวัคซีนแก่ผู้โดยสารเพ่ือป้องกันโรคไข้เหลือง โดยมีประเทศที่ต้องเฝ้าระวัง จ านวน 45 ประเทศ

2.ตรวจตรา ควบคุม ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบของช่องทางเข้าออกประเทศแก้ไขสุขาภิบาล (ด้านอาหาร ยานพาหนะ สิ่งแวดล้อม แมลงและสัตว์น าโรค) ให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งก าจัดสิ่งอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพในสถานที่และบริการดังกล่าว

3.เฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันและติดตามข่าวสาร สถานการณ์ของโรคติดต่อระหว่างประเทศ 4.ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ แก่ผู้เดินทางและผู้เกี่ยวข้อง

การตรวจตราสุขาภิบาลยานพาหนะทางบก ในบริเวณพ้ืนที่ช่องทางเข้าออกประเทศเป็นบทบาทหน้าที่ของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 มาตรา 39 (3)(4) และ กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (IHR2005) มาตรา 22

Page 4: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

4

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

บทบาทของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจ ตามภาคผนวก 1ข และ ภาคผนวก 5 ในการด าเนินงานที่ก าหนดไว้ในสภาวะปกติ กล่าวคือให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เข้าไปในยานพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิ่งของหรือสัตว์ที่มากับยานพาหนะ ตรวจตราและควบคุมให้เจ้าของยานพาหนะหรือผู้ควบคุมยานพาหนะแก้ไขการสุขาภิบาลของยานพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งก าจัดสิ่งอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพในยานพาหนะ โดยให้มีการตรวจตราอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และมีการบันทึกเพ่ือติดตามประเมินผลภายหลัง ตลอดจนมีการเพ่ิมการศักยภาพและป้องกันความเสี่ยงด้านสุขาภิบาล โดยการบ่งชี้อันตรายต่อภาวะสุขภาพ(Hazard identification) การระบุและจ าแนกความเสี่ยง (Risk identification) และการบริหารความเสี่ยง (Risk management) ที่เกิดขึ้นได้ จากการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานฯ ที่ผ่านมาในช่วงเวลา วันที่ 1-30 มิถุนายน 2558 มีปริมาณจ านวนพาหนะเดินทางระหว่างประเทศผ่านช่องทางเข้าออกประเทศ ในพ้ืนที่เขต 12 สงขลา จากข้อมูลรายงาน มีสถิติจ านวนพาหนะผ่านด่านฯ 9 ด่านฯ จ านวนทั้งสิ้นจ านวน 71,262 เที่ยว ด่านฯพรมแดน71,060 เที่ยว(2,368 เที่ยว/วัน) ด่านฯท่าอากาศยาน มีจ านวน 47 เที่ยว (2 เที่ยว/วัน) ด่านฯท่าเรือ 155 เที่ยว(5เที่ยว/วัน) จ านวนผู้เดินทางผ่านด่านฯพรมแดน (สะเดา ปาดังเบซาร์ บ้านประกอบ เบตง สุไหงโกลก บูเก๊ะตา)จ านวน 407,583 คน (13,586 คน/วัน) ด่านฯท่าอากาศยาน มีผู้เดินทางจ านวน 10,467 คน (349 คน/วัน) ด่านฯท่าเรือ 3,040 คน(100 คน/วัน)การผ่านเข้าประเทศของผู้เดินทางด้วยยานพาหนะจ านวนมาก ผู้ปฏิบัติงานมีข้อจ ากัดในการปฏิบัติด้วยบุคลากรประจ าด่านมีจ ากัดด่านละ1คน ท าให้ไม่สามารถด าเนินการได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนดและเพ่ิมภาระในการบันทึกข้อมูลซ้ าๆในยานพาหนะที่มีการเข้าออกเป็นประจ า การจัดเก็บเอกสารแบบฟอร์มต่างๆ ในการน าข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ท าให้ยากต่อการสืบค้นและการสรุปรายงานต่างๆ ยังต้องประมวลผลโดยเจ้าหน้าที่ท าให้เกิดความล่าช้า และพบข้อผิดพลาดของการสรุปผลได้ การค้นหาเอกสารประวัติการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะเป็นไปด้วยความล าบาก ซับซ้อน ไม่สามารถค้นหาได้จึงท าให้เจ้าพนักงานฯต้องท าการบันทึกลงในแบบฟอร์มเอกสารการตรวจใหม่ทุกครั้ง จนท าให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน และยังส่งผลกระทบกับผู้เดินทางที่มากับยานพาหนะคันดังกล่าวด้วย จากปัญหาสืบเนื่องของเอกสารแบบฟอร์มการตรวจที่เป็นกระดาษดังกล่าว จึงได้มีการปรับเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการพัฒนาการปฏิบัติงาน โดยการคิดค้น พัฒนาโปรแกรมระบบการตรวจบันทึก และการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะส าหรับด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศขึ้น เพ่ือลดภาระงาน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลของยานพาหนะเพ่ือใช้ประโยชน์ในโอกาสต่อไป

1.2 แนวทางในการปรับปรุงบริการ งานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ได้มีการวิเคราะห์ ประชุม เ พ่ือวางแผนในการปรับปรุง

ระบบข้ันตอนในการปฏิบัติงานใหม่เพ่ือให้สอดคล้องกับความเจริญ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน จึงได้น าเรื่องสรุปเสนอผู้อ านวยการส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา และขออนุมัติด าเนินการพัฒนาโปรแกรมตรวจบันทึก และการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ( V-San ) ขึ้นมา ในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมนั้นทางหน่วยงานได้พัฒนาขึ้นเองโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีความสามารถด้านเทคโนโลยี เป็นผู้ออกแบบ โดยมีแนวคิดสร้างให้โปรแกรมสามารถเชื่อมโยงออนไลน์ได้ทั่วประเทศ ผู้ให้บริการโดยตรงคือบุคลากรงานด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ซึ่งมีอ านาจหน้าที่โดยตรงในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดจากการท างานและสูญเสียทรัพยากรหลายด้านทั้งด้านเวลา วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร ความสิ้นเปลืองอ่ืนๆที่ไม่สามารถน ามาแปรเป็นมูลค่าได้ ผู้มารับบริการใช้ระยะเวลาในการรับบริการนานเกินไป รวมถึงไม่สามารถควบคุมคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการดังกล่าวได้ เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยดีมีมาตรฐาน จึงได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานครั้งนี้ ซึ่งได้ก าหนดพ้ืนที่ด่านฯ 2 แห่งเพ่ือใช้พัฒนาและปรับปรุง โปรแกรมให้มี

Page 5: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

5

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ความเหมือนจริง สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่ทางบก ได้แก่ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศบ้านประกอบ อ.นาทวี จ.สงขลา และ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส

1.3 สภาพการปฏิบัติงานหลังการปรับปรุงบริการ เมื่อได้พัฒนาโปรแกรมตรวจบันทึก และการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะเสร็จสิ้นแล้ว ได้น ามาใช้

ประโยชน์จริงโดยเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศประจ าด่านฯ ผู้ออกแบบโปรแกรมได้ท าการออกแบบโปรแกรมไว้ 2 แบบ ได้แก่

1.การใช้โปรแกรมผ่านระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้ งโต๊ะ สามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ที่ http://223.27.246.236/vsan/index.php โดยสามารถบันทึกข้อมูลตามแบบแจ้งยานพาหนะเข้าประเทศ (ต.1) และสามารถบันทึกรูปภาพผู้ขับขี่หรือเจ้าของพาหนะได้

2. การใช้โปรแกรมผ่านเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet สามารถเข้าโปรแกรมได้ที่ http://223.27.246.236/vsan/mobile/ โดยสามารถบันทึกข้อมูลตามแบบการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ สามารถบันทึกภาพถ่ายได้สูงสุด 4 ภาพ โปรแกรมสามารถพิมพ์รายงานผลการตรวจพร้อมทั้งมีรหัส QR-Code/บาร์โค้ท เพ่ือใช้ในการตรวจสอบและแจ้งยานพาหนะเข้าประเทศในครั้งต่อไป ซึ่งสามารถลดระยะเวลาการตรวจยานพาหนะลงได้ จากเดิม 20 นาที เป็น 5-8 นาท ี

1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ

- เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 และสอดคล้องกับกฏอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (IHR2005)

- ข้อมูลเป็น Real Time แสดงผ่านคอมพิวเตอร์ และTablet โทรศัพท์ Smart Phone บันทึกข้อมูลการผ่านเข้าประเทศ พร้อมภาพถ่าย สะดวกต่อผู้ให้และผู้รับบริการ

- สามารถลดระยะเวลาการตรวจยานพาหนะลงได้ จากเดิม 20 นาที เป็น 5-8 นาที(ในครั้งที่ 2 และครั้งต่อ ไๆป) - มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศท าให้สามารถค้นหาประวัติยานพาหนะที่ผ่านเข้าประเทศของผู้มารับ

บริการย้อนหลังได้ และน าข้อมูลดังกล่าวไปใช่ในการวางแผน - สร้างมาตรฐานในการด าเนินงาน มีแนวปฏิบัติในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเป็นมาตรฐาน

เดียวกัน ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่จ าเป็น สามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น 1.5 จุดเด่นของผลงาน และปัจจัยความส าเร็จ

ปัจจัยและองค์ประกอบส าคัญท่ีน าไปสู่ความส าเร็จคือ การทบทวนกระบวนการท างาน ให้ความส าคัญกับปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งเปรียบเสมือนการสะท้อนข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการบริการ เมื่อน าปัญหาที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหานั้น จะท าให้สามารถแก้ไขได้ตรงตามความต้องการ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน การรับรู้ปัญหา และเห็นประโยชน์ร่วมกันถือสิ่งส าคัญของการสร้างทีมงานที่ท าให้เกิดความเข้มแข็ง เพราะถ้าหากทีมผู้ปฏิบัติงานเห็นปัญหาและประโยชน์ร่วมกันแล้ว จะเกิดความร่วมมือในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ส าเร็จ เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด

Page 6: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

6

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มรายงานผลการด าเนินการ 1. ปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มการปรับปรุง

การเคลื่อนย้ายแรงงาน การลงทุน การขนส่งสินค้าหรือบริการอย่างเสรีเป็นมาตรการหนึ่งที่อยู่ในความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน นอกจากผลกระทบทางบวกที่เราได้รับ สิ่งหนึ่งที่เราต้องค านึงถึงคือ ผลกระทบทางด้านลบที่จะตามมา จากการเดินทางที่สะดวก รวดเร็วมากขึ้น รวมถึงด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ การแพร่ระบาดของโรคต่างๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวม เกิดความเสียหายด้านเศรษฐกิจ และการท่องเทีย่ว กรมควบคุมโรค ได้มีการวิเคราะห์ถึงผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวกับด้านสาธารณสุขไว้หลายประการ เช่น มีการเคลื่อนย้ายของประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช และอาหาร อย่างกว้างขวาง มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค โรคติดต่อที่ส าคัญหลายโรค โรคติดต่ออุบัติใหม่ เกิดการสูญเสียและความเสียหายที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น เช่น ไวรัสนิปาห์ เชื้อดื้อยา เช่น เชื้อวัณโรค โรคเอดส์ โรคติดต่อที่ถูกก าจัดกวาดล้างหมดไปจากประเทศไทยแล้ว เช่น กาฬโรค ก็อาจกลับมาระบาดได้อีก มีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากประเทศเพ่ือนบ้านเข้ารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทยมากขึ้น อาจเป็นสาเหตุหนึ่งต่อการแพร่ระบาดของเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น การเดินทางติดต่อของคนในประชาคมอาเซียนคล่องตัวและสะดวกมากขึ้น อาจส่งผลให้มีพาหะน าโรคต่างๆ เกิดเพ่ิมมากข้ึน

จากการด าเนินงานเฝ้าระวังโรค ผลการส ารวจ ตั้งแต่วันที่ 1-30 มิถุนายน 2558 มีข้อมูลรายงาน สถิติจ านวนพาหนะผ่านด่านฯ 9 ด่านฯ จ านวนทั้งสิ้นจ านวน 71,262 เที่ยว ด่านฯ พรมแดน71,060 เที่ยว (2,368 เที่ยว/วัน) ด่านฯ ท่าอากาศยาน มีจ านวน 47 เที่ยว (2 เที่ยว/วัน) ด่านฯ ท่าเรือ 155 เที่ยว(5เที่ยว/วัน) จ านวนผู้เดินทางผ่านด่านฯพรมแดน สะเดา ปาดังเบซาร์ บ้านประกอบ เบตง สุไหงโกลก บูเก๊ะตา จ านวน 407,583 คน (13,586 คน/วัน) ด่านฯท่าอากาศยาน มีจ านวน 10,467 คน (349 คน/วัน) ด่านฯท่าเรือ 3,040 คน(100 คน/วัน) มีการผ่านเข้าประเทศของผู้เดินทาง ยานพาหนะจ านวนมากและภาระงานที่มาก บุคลากรประจ าด่าน 1คน/1ด่าน ท าให้ความครอบคลุมของการตรวจท าได้น้อยผู้รับบริการที่ผ่านเข้า ด่านเป็นประจ า ต้องบันทึกข้อมูลลงแบบฟอร์มทุกครั้ง มีความล่าช้าในการท างานต่อผู้มารับบริการและเกิดการกระจายของข้อมูล ท าให้ยากต่อการสืบค้น การสรุปรายงานต่างๆ ยังต้องประมวลผลโดยเจ้าหน้าที่ เกิดความล่าช้าและข้อผิดพลาดขึ้น และไม่ได้น าข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและพัฒนาการด าเนินงาน ผู้ปฏิบัติงานได้สะท้อนถึงปัญหาดังกล่าว จึงต้องมีการพัฒนาด้านการจัดโครงสร้างการเฝ้าระวังโรค การเพ่ิมบุคลากรเฝ้าระวังโรค รวมไปถึงการสนับสนุนวิชาการเพ่ือพัฒนาและน าระบบเทคโนโลยีเข้ามาด าเนินการให้เหมาะสมในภาวะปัจจุบัน เนื่องจากระบบการเฝ้าระวังส าหรับผู้เดินทางระหว่างประเทศ และพาหนะยังไม่ทันสมัยและล้าหลัง ไม่สอดคล้องกับการพัฒนาสมรรถนะหลักของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548

งานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศจึงได้มีการพัฒนาโดยน าระบบสารสนเทศเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเฝ้าระวังโรคที่ได้มาตรฐาน สะดวก รวดเร็ว และเป็นมาตรฐานเดียวกันเพ่ือความพร้อมในการป้องกันควบคุมโรค อ านวยความสะดวก รองรับปริมาณของผู้เดินทางและยานพาหนะที่ผ่านเข้าประเทศ โดยก่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การจัดการข้อมูลรวมถึงการเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีความทันสมัย รวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน มีการคัดกรองความเสี่ยงของพาหนะ โดยการตรวจทางด้านสุขาภิบาลทั้งในภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน รวมไปถึงการพัฒนาระบบบริหารจัดการ เชิงบูรณาการ เพ่ิมขีดความสามารถเพ่ือรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ท าให้สอดคล้องกับมาตรฐานตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2548 และอ านาจตามกฎหมายหลักคือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558

Page 7: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

7

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แผนผังการปฏิบัติงานเดิม

2. ผู้น าเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ด าเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ

การป้องกันและการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เป็นภารกิจที่มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคงทางด้านสุขภาพและการสาธารณสุขของประเทศ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักเกี่ยวกับช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ในการเฝ้าระวังตรวจตรา ด าเนินการหรือก าหนดให้มีการปฏิบัติเพ่ือขจัดหรือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายจากต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักร รวมทั้งภัยคุกคามทางสาธารณสุขระหว่างประเทศอีกทั้งต้องพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศในด้านต่างๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การปฏิบัติงานสมรรถนะหลักที่ต้องมีในภาวะปกติ และการรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขที่อาจลุกลามข้ามประเทศ จากปัญหาในการด าเนินงานเกี่ยวกับสุขาภิบาลยานพาหนะ ผู้ให้บริการโดยตรงคือบุคลากรงานด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ซึ่งมีอ านาจหน้าที่โดยตรงในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดจากการท างานและสูญเสียทรัพยากรหลายด้านทั้งด้านเวลา วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร และความสิ้นเปลืองอ่ืนๆ ที่ไม่สามารถน ามาแปรเป็นมูลค่าได้ ผู้มารับบริการใช้

เจ้าของยานพาหนะยื่นแบบ ต.1

เตรียมอปุกรณ์แบบฟอร์มการตรวจ

ตรวจสขุาภิบาลยานพาหนะ

(ตามแบบฟอร์มการตรวจ)

(ใช้เวลา 15 นาท)ี

ให้ค าแนะน าปรับปรุง (ใช้เวลา 5 – 10 นาที)

อนญุาตให้เข้าเมืองได้

อนญุาตให้เข้าเมืองได้

ถกูต้อง

ไมถ่กูต้อง

ผา่น

Page 8: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

8

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ระยะเวลาในการรับบริการนานเกินไป รวมถึงไม่สามารถควบคุมคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการดังกล่าวได้ เพือ่ให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยดีมีมาตรฐาน จึงได้ประชุมหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยได้น าเทคโนโลยีสารสนเทศ มาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานครั้งนี้ และได้ก าหนดพ้ืนที่ด่านฯ 2 แห่งเพ่ือใช้พัฒนาและปรับปรุง โปรแกรมให้มีความเป็นจริง สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่ทางบก ได้แก่ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศบ้านประกอบ อ.นาทวี จ.สงขลา และ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส เพ่ือให้ผู้มารับบริการได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว มีมาตรฐาน และเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ ด่านศุลกากร ด่านตรวจคนเข้าเมือง

นอกจากนี้ ผู้มารับบริการได้แก่ประชาชนและผู้ต้องการผ่านด่านพรหมแดน ซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์จากการปรับปรุงบริการโดยตรง สามารถลดระยะเวลาในการมารับบริการน้อยลง ในการเดินทางมา จากเดิมใช้ระยะเวลาในการท างาน 20 นาที หากมีการน าระบบคอมพิวเตอร์ ผ่านระบบ Internet มาใช้จะสามารถด าเนินงานได้แล้วเสร็จภายใน 5-8 นาที ต่อรายในครั้งถัดๆไปในส่วนของการส่งเอกสาร โดยไม่รวมระยะเวลาที่รอคอย ท าให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะได้รวดเร็วและมีเวลาในการตรวจได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น 3. ผลงานที่เป็นความคิดริเริ่มในการพัฒนาคุณภาพการบริการ

ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา เน้นการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการท างาน พัฒนาแบบการเรียนรู้ แบบ Learning by doing เป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ คือลดระยะเวลาในการให้บริการ และด าเนินการจัดระบบให้มีมาตรฐานตามที่กรมควบคุมโรคก าหนด สามารถดึงข้อมูลส่วนบุคคลได้ทันทีและสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ก่อนการให้บริการ สามารถให้บริการได้อย่างรวดเร็ว (ตามแผนผังการให้บริการ) และอีกส่วนที่ส าคัญคือการจัดเก็บระบบรายงานและฐานข้อมูลการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะทางอิเลคทรอนิกส์

แผนผังการปฏิบัติงานใหม่

Page 9: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

9

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมเพ่ือน ามาใช้งาน ได้เริ่มจาก -การวิเคราะห์ปัญหา คณะท างานได้มีการวิเคราะห์ถึงปัญหาที่สะท้อนมาจากผู้ปฏิบัติงานจริงในงาน

ของด่านเข้าออกระหว่างประเทศ ซึ่งได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดจากการท างานและสูญเสียทรัพยากรหลายด้านทั้งด้านเวลา วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร และความสิ้นเปลืองอ่ืนๆ ที่ไม่สามารถน ามาแปรเป็นมูลค่าได้ และน าข้อมูลจากการวิเคราะห์ปัญหามาประเมินถึงสิ่งที่ควรจะปรับปรุงและแก้ไขให้ตรงตามการปฏิบัติงานจริง

-เสนอแนวทาง หลังจากที่เราทราบถึงปัญหาในการท างานต่างๆแล้วนั้น คณะท างานได้มีการประชุมหารือถึงแนวทางที่เราจะสามารถน ามาแก้ไขการท างานได้ รวมไปถึงกลยุทธ์และวิธีการหรือรูปแบบของการพัฒนาแนวทางต่างๆ และมีความเห็นร่วมกันถึงการน าเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาปรับใช้และพัฒนารูปแบบการท างานให้สะดวก รวดเร็ว จึงท าให้เริ่มมีความคิดปรับปรุงระบบการท างานให้ทันสมัยสอดคล้องกับในยุคปัจจุบัน และ นโยบายประเทศไทย 4.0 จึงได้เขียนแบบความจ าเป็นในการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมา เสนอ ผู้อ านวยการส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา โดยท่าน ผอ.เห็นชอบ และเชิญกลุ่มงานบริหารเข้ามาหารือ เพื่อหาแนวทางการใช้งบประมาณมาจ้างบริษัทเขียนโปรแกรมฐานข้อมูลดังกล่าว แต่ไม่สามารถใช้งบประมาณได้เนื่องจากขัดกับหลักการใช้งบประมาณ ซึ่งจะต้องของบลงทุน (รอขั้นตอนราชการ 2 ปี) มาด าเนินการ ทีมผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร สคร.12 จึงได้หารือเพ่ือด าเนินการให้สามารถพัฒนาระบบได้ทันสภาวการณ์ที่อาจสะสมและรุนแรงขึ้น

-ออกแบบโปรแกรม คณะท างานได้มีการหารือในการด าเนินการออกแบบโปรแกรมขึ้นมาเพ่ือพัฒนาการท างานในส่วนที่สามารถพัฒนาได้ก่อน เพ่ือให้ทันต่อสภาวการณ์ที่อาจสะสมและรุนแรงขึ้น โดยทางสคร.12 ได้มีการ ค้นหาเจ้าหน้าที่ที่ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ ความสามารถพิเศษในการเขียน และพัฒนาโปรแกรม มาร่วมปรึกษาหารือและวางแผนในการปฏิบัติงาน ซึ่งการออกแบบขั้นตอนการท างานของโปรแกรมเป็นขั้นตอนในส่วนของการออกแบบว่าอยากจะให้โปรแกรมออกมาในแนวทางและรูปแบบหรือลักษณะอย่างไร ซึ่งจะใช้เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรมต่อไป

-การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ คณะท างานได้น าแนวทางที่วางแผนไว้ในก่อนหน้านี่มาท างานลงรหัสเขียนโปรแกรมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ โดยเจ้าหน้าที่มีความสามารถของสคร.12 ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี 2557 โปรแกรมได้พัฒนามาหลายครั้ง ตรวจสอบความถูกต้องแม่นย า

-การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม โปรแกรมตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นมา ได้น าไปทดลองใช้ใน 2 พ้ืนที่ ได้แก่ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศบ้านประกอบ อ.นาทวี จ.สงขลา และ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส โดยมีการเข้าระบบเพ่ือทดสอบการบันทึกรายละเอียดของยานพาหนะ การถ่ายรูปและน าเข้าข้อมูลต่างๆ ซึ่งระบบได้ท างานได้ตามแบบที่วางไว้ แตจ่ะมีข้อจ ากัดเล็กน้อยในส่วนของระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตที่เป็นสิ่งที่จ าเป็นในการใช้งาน ซึ่งจะต้องหาเครือข่ายแม่ที่มีประสิทธิภาพสูงเพ่ือรองรับการท างานในสภาวการณ์ต่างๆ และได้มีการพัฒนาโปรแกรมให้สามารถเข้ามากรอกข้อมูลออนไลน์เพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการท างาน รวมไปถึงการพัฒนาตัวเอกสารให้สามารถรองรับการใช้งานที่สะดวกรวดเร็วได้ จึงได้มีการออกแบบการออกเอกสารที่มาในรูปแบบ QR Code หรือบาร์โค้ด ขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนาโปรแกรมในขั้นตอนของการออกเอกสารรับรอง ซึ่งจะต้องมีการตรวจสอบและติดตามอย่างครอบคลุม ไม่ให้มีข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ก่อนที่จะออกเอกสารเพ่ือรับรองการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะออกไป

Page 10: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

10

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

4. กลยุทธ์ที่น ามาใช้ให้การพัฒนาบริการประสบผลส าเร็จ

สคร.12 มุ่งเน้นที่การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการท างาน ท าให้สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง เมื่อปรับปรุงกระบวนการท างานแล้วจะเกิดขึ้นตอนการปฏิบัติงานที่มีมาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของผู้มารับบริการได้ โดยการด าเนินงานภายใต้กลยุทธ์ดังต่อไปนี้

1. การน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งาน การพัฒนาปรับปรุงการให้บริการและพัฒนาระบบการท างานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยน าระบบเทคโนโลยีสารเทศมาใช้ เพ่ือให้ผู้มารับบริการได้รับความสะดวก ลดระยะเวลาในการรอรับบริการ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาติดต่อราชการ และสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. เน้นพัฒนาเครือข่าย โดยการด าเนินการแบบมีส่วนร่วม ได้แก่ งานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ระบุปัญหาและความต้องการเนื่องจากเป็นผู้ที่ต้องใช้ปฏิบัติงานจริงเป็นประจ า ประเมินความพึงพอใจเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท าให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงและตามความต้องการของผู้ใช้งาน

3. พัฒนาอย่างต่อเนื่อง คณะท างานพัฒนาระบบฯ ได้จัดท าคู่มือการให้บริการให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จัดระบบการให้บริการให้เป็นระบบ เพ่ือพัฒนางานประจ า โดยน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้เพ่ือลดความสูญเสียด้านเวลา การใช้แบบฟอร์มต่างๆ มีการพัฒนาโปรแกรมโดยบุคลากรของหน่วยงาน ให้ตรงกับสภาพการปฏิบัติงานจริง โดยใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่มีอยู่ มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยทีมผู้ปฏิบัติและมีการสื่อสารถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติ โดยมีการสอนงานระหว่างปฏิบัติงาน (OJT) และหลังจากโปรแกรมสามารถใช้งานได้ มีการจัดโครงการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมส าหรับผู้ปฏิบัติงานเป็นประจ าอย่างต่อเนื่องเพ่ือรองรับการท างานให้เป็นปัจจุบันอยู่อย่างสม่ าเสมอ 5. ทรัพยากรที่ใช้ในการด าเนินการ ด้านทรัพยากรบุคคล

- บุคลากรงานด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา โดยมีด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศที่อยู่ในความรับผิดชอบทั้งหมด 8 ด่าน ซึ่งด าเนินกิจกรรมต่างๆโดยหัวหน้าด่านควบคุมโรคท้ัง 8 ด่าน ในการเป็นผู้จัดกิจกรรม ให้ค าปรึกษาในการพัฒนาโปรแกรมและการท างาน ให้ความรู้ในการใช้โปรแกรมแก่เครือข่ายการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการก ากับ ติดตาม และออกแบบแนวทางหรือวิธีการพัฒนาโปรแกรมในรูปแบบต่างๆร่วมด้วย

- คณะท างานเพ่ือด าเนินการการพัฒนาระบบบันทึกข้อมูล ของ สคร.12 ประกอบด้วย 1. งานด่านควบคุมโรค เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินการต่างๆทั้งส่วนของการพัฒนาและ

การให้ความรู้ในการใช้โปรแกรม การก าหนดพ้ืนที่ด่านที่จะน าโปรแกรมลงไปใช้งาน รวมถึงเป็นผู้ด าเนินงานใช้จริงและรวบรวมผลจากการใช้โปรแกรมมาวิเคราะห์เพ่ือพัฒนาโปรแกรมให้ตรงกับความต้องการและเกิดประสิทธิภาพ

2. กลุ่มงานหรือฝ่ายที่รับผิดชอบงานด้านเทคโนโลยีของสคร. 12 คือ งานด้านสารสนเทศ และเจ้าหน้าที่ที่มีความสามารถทางด้านสารสนเทศ เป็นแกนหลักในการเขียนและพัฒนาตัวโปรแกรม ออกแบบลักษณะของโปรแกรม ทั้งรูปแบบการใช้งาน ความสวยงาม และความสะดวกในการใช้งาน รวมไปถึงการติดตามผลการใช้งานและความคิดเห็นจากผู้ใช้งาน เพ่ือน ามาพัฒนาโปรแกรมให้สมบูรณ์และพร้อมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น

Page 11: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

11

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

- ผู้เขียนโปรแกรม เป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยราชการเองจึงท าให้ไม่ต้องจ้างโปรแกรมเมอร์มาออกแบบและจัดสร้างโปรแกรม ซึ่งถ้าจ้างร้านหรือบริษัทมาเขียนโปรแกรมจะท าให้หน่วยงานราชการต้องจัดหางบประมาณค่อนข้างสูงมาจ้างและต้องมีค่าใช้จ่ายต่อไปอีกในอนาคต เช่น จ้างดูแลระบบ จ้างปรับปรุงโปรแกรม จ้างเขียนโปรแกรมเพ่ิมเติมและอ่ืนๆ แต่ผู้เขียนโปรแกรมของส านักงานจะมีหน้าที่ในการก ากับติดตามการท างานของโปรแกรม รวมไปถึงดูแลระบบการบันทึกข้อมูลให้พร้อมต่อการใช้งานอยู่เสมอ และจะเห็นได้ว่าการพัฒนาระบบโปรแกรมดังกล่าวได้รับพัฒนาระบบด้วยตัวจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเอง จึงท าให้การพัฒนาโปรแกรมมีความถูกต้อง ตรงกับสภาพการปฏิบัติงานมากที่สุด แต่ยังต้องหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานมาสนับสนุนการปฏิบัติงานต่อไป เช่นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา (Tablet) และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นส่วนส าคัญส าหรับการใช้โปรแกรม ด้านวัสดุอุปกรณ์

- เครื่องคอมพิวเตอร์ส าหรับจัดเก็บฐานข้อมูล (Server) ปัจจุบันใช้ตัวจัดเก็บข้อมูลร่วมกับส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา แต่ในอนาคตอาจขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องคอมคอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง (Server) เพ่ือให้สามารถรองรับการใช้งานได้ครอบคลุม

- โปรแกรมได้รับการพัฒนาจากคณะท างานพัฒนาโปรแกรม ให้ใช้งานผ่านระบบ Internet ในลักษณะที่เป็น Web Application โดยสามารถใช้ได้ทั้งสองระบบ คือ 1. การใช้โปรแกรมผ่านระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ 2. การใช้โปรแกรมผ่านเครื่อง Smartphone หรือ Tablet ซึ่งมีทั้งระบบรายงาน ระบบจัดเก็บฐานข้อมูล และระบบตรวจสอบผ่าน QR code ด้านงบประมาณ

ได้รับงบประมาณจากส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา โดยแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนที่ 1 งบประมาณในการพัฒนาบุคลากร ด าเนินโครงการการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ปฏิบัติงาน

อบรมให้ความรู้การใช้โปรแกรม โดยเบื้องต้นอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ส่วนที่ 2 งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรม ในการจัดโครงการพัฒนา ปรับปรุงโปรแกรม

6. ขั้นตอนส าคัญในการพัฒนาการบริการและการน าไปปฏิบัติ

6.1 ล าดับขั้นตอนในการพัฒนา งานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ได้มีการ ทบทวนปัญหาจากการด าเนินงานที่ผ่านมาและ

รวบรวมข้อมูล เพ่ือวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานและหาแนวทางแก้ไข ประชุม เพ่ือวางแผนในการปรับปรุงระบบขั้นตอนในการปฏิบัติงานใหม่เพ่ือให้สอดคล้องกับความเจริญ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน จึงได้น าเรื่องสรุปเสนอผู้อ านวยการส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา และขออนุมัติด าเนินการพัฒนาโปรแกรมตรวจบันทึก และการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ( V-San ) ขึ้นมา ในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมนั้นทางหน่วยงานได้พัฒนาขึ้นเองโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีความสามารถด้านเทคโนโลยีออกแบบ โดยมีแนวคิดสร้างให้โปรแกรมสามารถเชื่อมโยง ออนไลน์ ได้ทั่วประเทศ เมื่อได้พัฒนาโปรแกรมตรวจบันทึก และการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ เสร็จสิ้นแล้วจึงได้น ามาใช้ประโยชน์จริงโดยเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ผู้ออกแบบโปรแกรมได้ท าการสร้างโปรแกรมไว้ 2 แบบ ได้แก่ 1. การใช้โปรแกรมผ่านระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ สามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ที่ http://223.27.246.236/vsan/index.php โดยสามารถบันทึกข้อมูลตามแบบแจ้งยานพาหนะเข้าประเทศ (ต.1) สามารถบันทึกรูปภาพผู้ขับขี่หรือเจ้าของพาหนะได้

Page 12: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

12

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

2. การใช้โปรแกรมผ่านเครื่อง Smartphone หรือTablet สามารถเข้าโปรแกรมได้ที่http://223.27.246.236/vsan/mobile/ โดยสามารถบันทึกข้อมูลตามแบบการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะและบันทึกภาพถ่ายได้สูงสุด 4 ภาพ โปรแกรมสามารถพิมพ์รายงานผลการตรวจพร้อมทั้งมีรหัส QR-Code/Barcode เพ่ือใช้ในการตรวจสอบและแจ้งยานพาหนะเข้าประเทศในครั้งต่อไป ซึ่งสามารถลดระยะเวลาการตรวจยานพาหนะลงได้ จากเดิม 20 นาที เป็น 5-8 นาท ีในการผ่านเข้าด่านครั้งต่อไป

6.2 ล าดับขั้นตอนในการปฏิบัติ หลังจากโปรแกรมได้รับการพัฒนาจนพร้อมในการน าไปปฏิบัติงาน คณะท างานได้น าโปรแกรมนี้ไป

ปฏิบัติใช้ในพ้ืนที่จริง คือ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศบ้านประกอบและด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นพ้ืนที่ด่านพรมแดนทางบก จากทั้งหมด 6 ด่าน เป็นการเปรียบเทียบระหว่างด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศบ้านประกอบ ซึ่งเป็นด่านใหม่ และด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นด่านที่มีความพร้อมด้านบุคลากรประจ าด่าน โดยยานพาหนะทางบกที่เดินทางส่วนใหญ่มาจากประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ ในแต่ละพ้ืนที่ช่องทางเข้าออกประเทศพรมแดนทางบก มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เป็นผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานเช่น พ้ืนที่ในการปฏิบัติงานมีพ้ืนที่จ ากัดมาก แคบ มีการแออัด จึงท าให้ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถปฏิบัติได้เพราะในบริเวณช่องทางเข้าออกประเทศมีจุดตรวจ 2 หน่วยงาน ได้แก่ ด่านตรวจคนเข้าเมือง และด่านศุลกากร เท่านั้น เมื่อด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศปฏิบัติหน้าที่ด้วย จึงเพ่ิมความแออัดของยานพาหนะที่ติดสะสมเนื่องด้วยคนขับรถจะต้องจอดรถมาแจ้งเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จากเหตุการณ์ดังกล่าวหนว่ยงานจึงออกแบบการปฏิบัติงานโดยใช้คอมพิวเตอร์มือถือขนาดเล็ก (Tablet) หรือโทรศัพท์มือถือหน้าจอสัมผัส ในการปฏิบัติงานได้ด้วยความรวดเร็ว ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีด้งนี้ 1. เจ้าของยานพาหนะที่ต้องการเข้าประเทศกรอกเอกสารลงทะเบียนด้วยมือที่ด่านตรวจ หรือกรอกเอกสารลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ (ก าลังพัฒนา) 2. เจ้าหน้าที่ด่านตรวจคีย์ข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ส าหรับผู้ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ ให้พิมพ์เอกสารค าร้อง พร้อมบาร์โค๊ดมายื่นที่ เจ้าหน้าที่ด่านฯได้เลย 3. ระบบท าการตรวจสอบและแจ้งเตือนข้อมูลเฝ้าระวังที่ส าคัญ ที่เกี่ยวข้องกับยานพาหนะเช่นเข้ามาครั้งแรกมีการตรวจพบให้ปรับปรุงท าความสะอาด 4. เจ้าหน้าที่ด่านตรวจใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา เช่น ไอแพด ไอโฟนหรืออุปกรณ์อ่ืนๆ ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ iOS, Android เป็นต้น ถ่ายรูปคนและรถที่ต้องการเข้าประเทศ แล้วท าการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ เมื่อด าเนินการตรวจสอบเรียบร้อย เจ้าพนักงานสาธารณสุขประจ าด่าน ออกเอกสารบันทึกการรับรองที่ด่านตรวจและผู้ต้องการเข้าประเทศเดินทางเข้าประเทศ

เมื่อยานพาหนะคันเดิมต้องการเข้าประเทศครั้งต่อไป ให้ยื่ นเอกสารที่มี QR code/Barcode ให้เจ้าหน้าที่เพ่ือให้ระบบคอมพิวเตอร์ค้นหา และลงบันทึก ต.1 ระบบจะแสดงรายงานข้อมูลการผ่านเข้าประเทศว่า บุคคลนี้ รถคันนี้มาล่าสุดเมื่อไหร่ มาจากประเทศอะไร และผ่านเข้าประเทศเม่ือไหร่ 6.3 ระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบริการ การติดตามประเมินผล ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือการติดตามประเมินผลการใช้โปรแกรม ความก้าวหน้าของการพัฒนาโปรแกรม ของทีมพัฒนาทุกสัปดาห์ โดยการประเมินถึงความก้าวหน้าของการน าโปรแกรมไปใช้งานในด่านอ่ืนๆ รวมไปถึง

Page 13: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

13

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

การติดตามและรวบรวมปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้นจากการน าโปรแกรมไปใช้ เพ่ือน าผลจากการติดตามตรงส่วนนั้นมาวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขในส่วนที่ยังบกพร่องต่อไป ส่วนที่ 2 คือการประเมินด้านคุณภาพ โดยคณะท างานจะประเมินความพึงพอใจจากการใช้งานโปรแกรมใน 2 ส่วน คือ ส่วนที่มาจากตัวผู้ใช้โปรแกรมโดยตรงคือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานตรงด่าน และอีกส่วนที่มาจากผู้รับบริการ คือประชาชนผู้ผ่านด่านพรมแดน ซึ่งจะประเมินถึงความสะดวกรวดเร็วในการท างานและรับบริการจากเจ้าหน้าที่ โดยจากการติดตามและประเมินดังกล่าว ผลที่ได้จะน าไปวิเคราะห์ถึ งปัญหาที่เกิดขึ้นและหาแนวทางเพ่ือพัฒนาโปรแกรมให้มีคุณภาพเพ่ิมขึ้น เช่น น าไปสู่การวางแผนเกี่ยวกับงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคลต่อไป 7. ปัญหา อุปสรรค รวมถึงวิธีการบริหารจัดการ ส่วนที่ 1 งานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เป็นงานที่ต้องใช้กฎหมายในประเทศและระหว่างประเทศในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ปกป้องประชาชนในประเทศ แจ้งเตือนเหตุการณ์หรือผู้เดินทางที่ต้องสงสัยว่าจะติดโรคให้กับหน่วยงานสาธารณสุขในประเทศ ซึ่งเป็นงานความมั่นคงของชาติในด้านสาธารณสุข สาระส าคัญของกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005 ความตอนหนึ่งได้ระบุไว้ว่า “วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคและการควบคุมโรคที่อาจเกิดจากภัยสุขภาพและการเดินทางข้ามประเทศ โรคหรือภัยสุขภาพที่เกิดจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพของมนุษย์และชีวภาพ (พืชสัตว์,แบคทีเรีย,สารเคมี,หรือรังสี) โดยไม่ให้มีผลกระทบต่อการขนส่งและการค้าระหว่างประเทศ.(International traffic and trade) ซึ่งต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและอ านาจอธิปไตยของแต่ละประเทศ” แต่ในปัจจุบันการบังคับใช้ทางด้านกฎหมายต่างๆยังไม่เข้มงวดและไม่สามารถน าระเบียบต่างๆมาบังคับใช้ได้อย่างเติมที่ ท าให้ด่านควบคุมโรคฯ พยายามคิดค้นหาแนวทางที่จะท าให้สามารถช่วยในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ ด าเนินการเฝ้าระวังได้อย่างเป็นรูปธรรม และบังคับให้ประชาชนทุกคนต้องเข้ารับการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะได้อย่างครอบคลุม จึงมีแนวคิดต่อมาถึงการบริหารจัดการใหม่ ต้องมีมาตรการที่รองรับในการบังคับใช้ทางกฎหมาย และเพ่ิมความเข้มงวดให้กับประชาชนเข้ารับการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เพ่ือให้สอดคล้องกับโลกในยุคปัจจุบันซึ่งใช้เทคโนโลยีในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป ส่วนที่ 2 การผ่านเข้าประเทศของผู้เดินทาง มียานพาหนะจ านวนมากในขณะที่จ านวนบุคลากรประจ าด่านไม่เพียงพอ มีเพียงแค่ 1-2 คนต่อด่าน ท าให้พบข้อบกพร่องและอุปสรรคในการปฏิบัติงานต่อการให้บริการอย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ และครอบคลุมทั้งหมด

- เกิดความล่าช้าและการกระจายของข้อมูลในส่วนของงานเอกสารซึ่งก่อนหน้านี้ เราใช้ระบบการจัดเก็บ ระบบของการบันทึกข้อมูลแบบกระดาษ ในการที่ให้ผู้รับบริการใช้กรอกเอกสารต่างๆ ท าให้ยากต่อการสืบค้นและการสรุปรายงานต่าง ๆ เนื่องจากการประมวลผลยังคงต้องท าโดยเจ้าหน้าที่และอาจเกิดข้อผิดพลาดขึ้น

- ช่วงเวลาในการเปิดปิดด่านพรมแดนในแต่ละวันก็แตกต่างกันตามประกาศของกฎหมาย เช่น ด่านพรมแดนสะเดา เปิด 05.00 น ปิด 23.00 น ด่านบ้านประกอบ เปิด 07.00 น ปิด 17.00 น ซึ่งการปฏิบัติงานไม่ได้ปฏิบัติงานตามเวลาราชการปกติโดยทั่วไป ไม่มีวันหยุด จึงเป็นอุปสรรคต่อการท างานของเจ้าหน้าที่ การบริหารจัดการใหม่ อาจจะต้องเพ่ิมบุคลากรเพ่ือปฏิบัติงาน 4-6 คน ตามปริมาณงานและความเหมาะสมกับพ้ืนที ่ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับเวลาเปิดปิดด่านต่างๆของแต่ละช่วงเวลาและของแต่ละด่านร่วมด้วย

Page 14: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

14

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ส่วนที่ 3 ด้านงบประมาณ ในส่วนของงบประมาณของการพัฒนาโปรแกรมต่างๆ ค่อนข้างไม่เพียงพอกับการพัฒนา บางอย่างไม่เอ้ืออ านวยให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบาย กฎระเบียบต่างๆที่ก าหนดไว้

การบริหารจัดการใหม่ อาจจะต้องมีการหางบประมาณมาสนับสนุนเพ่ิมเติมในการพัฒนาโปรแกรมและระบบในอนาคตเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ

ส่วนที่ 4 ด้านวัสดุอุปกรณ์ วัสดุอุปกรณ์ในปัจจุบันมีความเหมาะสมเพียงพอกับเจ้าหน้าที่ ประมาณ 1-2 คนที่มีอยู่ การบริหารจัดการใหม่ ในอนาคตหากมีการปรับอัตราเจ้าหน้าที่เพ่ิมขึ้น อาจจะไม่เพียงพอและต้องมีการจัดซื้อจัดหามาเพิ่มเติม ส่วนที่ 5 ด้านความร่วมมือ งานด่านควบคุมโรคติดต่อ ยังมีอุปสรรคในเรื่องของความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง อย่างเช่นด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านศุลกากร ซึ่งยังไม่เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของงานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ โดยยังมีความเข้าใจว่าท าหน้าที่เฉพาะการดูแลผู้ป่วยที่เดินทางเข้าออกระหว่างช่องทางเข้าออกประเทศเพียงเท่านั้น เนื่องจากภาพลักษณ์ของผู้ปฏิบัติงานในด่านควบคุมโรคฯ ท าให้การที่ผู้ปฏิบัติงานจะลงภาคสนามในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะเป็นไปค่อนข้างยาก และอาจเกิดความขัดแย้งขึ้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเป็นในเฉพาะบางพ้ืนที่ด่านบางด่านเท่านั้น การบริหารจัดการใหม่ อาจจะต้องมีการด าเนินการในส่วนของด่านที่เกิดข้อขัดแย้ง มีการพูดคุยหารือถึงบทบาทหน้าที่ของงานด้านควบคุมโรคให้ผู้ปฏิบัติจากหน่วยงานอ่ืนได้เข้าใจถึงความจ าเป็นในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะเพ่ือการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินการพัฒนาบริการ โปรแกรมการตรวจสุขาภิบาล(V-SAN) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้งานในด่านพรมแดนทางบก ในขณะนี้ผู้เขียนโปรแกรมได้พัฒนาเพ่ือให้ใช้กับด่านท่าเรือ และด่านท่าอากาศยาน ซึ่งแต่ละชนิดของด่านจะมีแบบการตรวจแตกต่างกัน ในส่วนโปรแกรมที่ใช้ในด่านพรมแดนในขณะนี้จะขยายให้ด่านพรมแดนทั้ง 4 ด่าน ในเขตรับผิดชอบของ สคร.12 สงขลา และด าเนินการขยายผลไปยังด่านท่าเรือ , ด่านท่าอากาศยาน และด่านพรมแดนอ่ืนๆทั้งประเทศต่อไปในอนาคต ซึ่งค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนผู้รับบริการ โดย ประชาชนผู้ที่มารับบริการ ได้รับความสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น สามารถรับเอกสาร ด าเนินการต่างๆให้แล้วเสร็จได้ในระยะเวลา 5-8 นาที ในครั้งที่สองและครั้งถัดๆไป ผู้เดินทางเข้าออกด่านชายแดน ได้รับการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะได้อย่างคลอบคลุม ซึ่งเป็นการป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อที่จะเป็นภัยสุขภาพต่อประชาชน รวมถึงประชาชนได้รับการป้องกัน ควบคุมการติดต่อของโรคที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันเวลา ซึ่งเมื่อยานพาหนะที่ผ่านเข้าประเทศมามีการตรวจสอบแล้วพบว่า มาจากประเทศที่มีการเฝ้าระวังโรคติดต่อ แพทย์ที่อยู่ประจ าด่านควบคุมโรคฯ จะท าการตรวจสอบว่าได้เชื้อโรคแฝงมาด้วยหรือไม่ อาจมีการสอบถามถึงอาการป่วย เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคและจะช่วยให้ผู้ป่วยที่อาจติดต่อเชื้อสามารถได้รับการรักษาได้อย่างทันเวลา

โปรแกรมนี้ ยังสามารถลดข้อผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการกรอกข้อมูลด้วยลายมือ ลดภาระ และค่าใช้จ่ายในการสิ้นเปลืองวัสดุ อุปกรณ์ และลดจ านวนเอกสารผิดพลาดที่ต้องท าลาย การด าเนินการออกเอกสารรับรองด้วยคอมพิวเตอร์ ผ่านระบบ Internet เป็นการสนับสนุนการด าเนินงานของการเดินทาง ท าให้มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ สามารถค้นหาประวัติ และน าข้อมูลดังกล่าวไปใช่ในการวางแผน การด าเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ข้อมูลเป็น Real Time แสดงผ่านคอมพิวเตอร์ และTablet โทรศัพท์ Smart Phone บันทึกข้อมูลการผ่านเข้าประเทศ พร้อมภาพถ่าย สะดวกต่อผู้ให้และ

Page 15: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

15

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ผู้รับบริการ ส าหรับการปฏิบัติงานในขณะมีการเกิดโรคระบาดและมีความเข้มงวดในการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะให้ครอบคลุมมากที่สุด สามารถลดระยะเวลาการตรวจยานพาหนะลงได้ จากเดิม 20 นาที เป็น 5-8 นาที ในครั้งที่ 2 และครั้งต่อๆไป มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศท าให้สามารถค้นหาประวัติยานพาหนะที่ผ่านเข้าประเทศของผู้มารับบริการย้อนหลังได้ และน าข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการวางแผนจัดการเรื่องอ่ืนๆได้ต่อไป เสริมศักยภาพเจ้าหน้าที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เพ่ิมขึ้นซึ่งสอดคล้องกับนโยบายประเทศไทย 4.0 เป็นการปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพ่ือมุ่งสู่แนวปฏิบัติของสังคมที่แปรเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว สร้างมาตรฐานในการด าเนินงาน มีแนวปฏิบัติในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่จ าเป็น สามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 และสอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (IHR2005) 9. การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปยังหน่วยงานอ่ืน ๆ โปรแกรมการตรวจสุขาภิบาล(V-SAN) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้งานในด่านพรมแดนทางบก ในขณะนี้ผู้เขียนโปรแกรมได้พัฒนาเพ่ือให้ใช้กับด่านบกอ่ืนๆอีก ด่านท่าเรือ และด่านท่าอากาศยาน ซึ่งแต่ละชนิดของด่านจะมีแบบการตรวจแตกต่างกัน ในส่วนโปรแกรมที่ใช้ในด่านพรมแดนในขณะนี้จะขยายให้ด่านพรมแดนต่างๆ ทั่วประเทศได้ใช้ต่อไป ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ของส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ได้มีการน าโปรแกรมตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะนี้ ลงไปใช้ในพ้ืนที่ด่านอ่ืนๆ นอกจากด่านที่เป็นแบบอย่างเพียงสองด่าน คณะผู้ท างานได้มีการลงพ้ืนที่ด่านชายแดนทางบกต่างๆ ที่อยู่ในการดูแลเพ่ือเข้าไปก ากับและดูแลการน าโปรแกรมไปใช้ รวมไปถึงได้มีการจัดอบรมเกี่ยวกับงานด่านและการน าโปรแกรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน ให้กับ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานโดยตรง มีการอบบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือสอนวิธีการใช้โปรแกรมให้กับเจ้าหน้าที่ที่มาท างานใหม่และส าหรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอยู่แล้วเพ่ือเป็นการทบทวนการท างานและติดตามการใช้โปรแกรมร่วมด้วย ปัจจุบันโปรแกรมการตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะท่ีถูกพัฒนาขึ้นมานั้น ในด่านชายแดนทางบกทุกด่านได้มีการน าไปใช้ในการปฏิบัติงานประจ าวันทุกด่านแล้ว ซึ่งในอนาคตคณะท างานได้มีแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรม เพ่ือต้องการขยายผลไปสู่งานด่านอากาศยานและด่านท่าเรืออ่ืนๆ รวมไปถึงอาจน าไปสู่การใช้โปรแกรมในด่านชายแดนอื่นๆท่ัวประเทศด้วย ในส่วนของบุคลากรที่มารองรับการท างานนั้น ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ได้มีการรับบุคลากรเพ่ือเข้ามาท างานเพ่ิมเติมในบางส่วนที่ยังไม่เพียงพอ แต่ในส่วนนี้อาจต้องใช้ระยะเวลาในการด าเนินการ ซึ่งจ านวนที่ได้มาเพ่ิมในปัจจุบันอาจไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานในด่านบางด่าน ซึ่งขึ้นอยู่กับภาระหน้าที่และขนาดของด่านที่แตกต่างกัน 10. บทเรียนที่ได้รับจากการด าเนินการพัฒนาบริการ คืออะไร ปัจจัยและองค์ประกอบส าคัญท่ีน าไปสู่ความส าเร็จคือ การทบทวนกระบวนการท างาน ให้ความส าคัญกับปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งเปรียบเสมือนการสะท้อนข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการบริการ เมื่อน าปัญหาที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหานั้น จะท าให้สามารถแก้ไขได้ตรงตามความต้องการ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายการปฏิบัติงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีใจมุ่งเน้นการบริการ และพัฒนาคุณภาพการบริการ เป็นสิ่งส าคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลาได้ยึดถือ และสามารถน ามาใช้ปรับปรุงในการบริหาร เรียนรู้ความต้องการของผู้มารับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จัดระบบการท างานให้เกิดความคล่องตัวขึ้น เพ่ือสร้างการบริการที่สะดวกรวดเร็ว ควบคุมการด าเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพและ

Page 16: แบบฟอร์มใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ · อ.นาทวี จ.สงขลา และ ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศสุไหงโก-ลก

16

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

เกิดความพึงพอใจต่อผู้มารับบริการ เพ่ือพัฒนาบริการให้ตอบสนองความต้องการของผู้มารับบริการเป็นหลัก และพัฒนากระบวนการท างานอย่างต่อเนื่อง

การรับรู้ปัญหา และเห็นผลประโยชน์ร่วมกัน ถือเป็นสิ่งส าคัญของการสร้างเครือข่ายที่ท าให้เครือข่ายเกิดความเข้มแข็ง เพราะถ้าหากเครือข่ายในการด าเนินงานเห็นปัญหาและผลประโยชน์ร่วมกันแล้ว จะเกิดความร่วมมือในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ส าเร็จ แต่หากเครือข่ายไม่เห็นถึงประโยชน์ร่วมกัน มีมุมมองหรือแนวคิดที่ไม่เหมือนกัน การประสานงานและขอความร่วมมือมักจะท าได้ยาก เพราะแต่ละคนจะติดอยู่ในกรอบความคิดของตัวเอง มองปัญหาหรือความต้องการไปคนละทิศคนละทาง รวมไปถึงการจัดการสุขภาพให้เป็นระบบ จ าเป็นต้องอาศัยกระบวนการหลายด้าน ทั้งด้านสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาโรค มีระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างเพียงพอ และเอ้ือต่อการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งหน่วยงานเพียงหน่วยงานเดียวไม่สามารถด าเนินการได้ ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา แนวโน้มความต้องการทางการแพทย์และสาธารณสุข ร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และวางแผนด าเนินการแก้ไขปัญหาร่วมกัน มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างทั่วถึงและ น าเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ เมื่อมีการด าเนินการอย่างเป็นระบบแล้ว จึงจะสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการเฝ้าระวัง ให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนได ้

บทเรียนที่ได้รับจากด่าน ด่านเป็นหน่วยบริการที่ใช้ระบบสารสนเทศให้บริการแก่ประชาชน ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ความร่วมมือของบุคลากรด้านวิชาการด้านเทคนิค ประสบการณ์ จึงเป็นองค์ประกอบส าคัญที่ท าให้ประสบผลส าเร็จ ในส่วนของข้อเสนอแนะ มีการวางแผนการพัฒนาระบบการออกเอกสาร Quarantine Clearance ต่อไปในอนาคต มีการวิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวก เพ่ือน าเสนอแก่ประชาชนและมอบเป็นบริการสาธารณะ มีการวางแผนในการสร้างความยั่งยืนของโปรแกรมต่อระบบเศรษฐกิจ สร้างความมั่นคงต่อการน ากฎหมายมาบังคับใช้หรือมีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่เด่นชัดเป็นรูปธรรมมากขึ้น รวมไปถึงการเผยแพร่นวัตกรรมและระบบการท างานไปสู่ องค์กรเขตอ่ืนๆทั้ง 12 เขต ที่มีด่านฯ ควบคุมโรคเพ่ือเป็นแนวทางในการขยายผล สู่ระดับชาติและนานาชาติต่อไป