28
บทที4 ผลการทดลอง 4.1 การสกัดสารจากใบพญาสัตบรรณ จากการศึกษาสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีการหมัก (Maceration) โดยใช้เอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ และเอทิลอะซิเตทเป็นตัวทาละลาย โดยใช้อัตราส่วนของสมุนไพรต่อตัวทาละลายเท่ากับ 1 กรัม ต่อ 4 มิลลิลิตร (1 : 4) พบว่า สารสกัดเอทานอลจากใบพญาสัตบรรณ แสดงผลผลิตร้อยละ 11.17 โดยมีลักษณะแห้ง สีเขียวเข้ม ซึ ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับสารละลายเอทิลอะซิเตท ที่สามารถ สกัดสารออกมาได้คิดเป็นร้อยละ 3.92 (ตารางที4.1 และ 4.2) เมื่อพิจารณาลักษณะสารสกัดหยาบจากเอทานอลและเอทิลอะซิเตทเมื่อละลายด้วยตัวทาละลาย Dimethyl sulfoxide (DMSO) ให้มีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับ 500, 1,000, 1,500 และ 2,000 มิลลิกรัม ต่อมิลลิลิตร ตามลาดับ พบว่า สารสกัดใบพญาสัตบรรณที่ความเข้มข้น 1,500 และ 2,000 มีความหนืด มากจน DMSO ละลายได้ไม่ทั่วถึง (ตารางที่ 4.2) คณะผู้วิจัยจึงคัดเลือกสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณ ที่ความเข้มข้นเท่ากับ 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไปใช้ในการดาเนินการวิจัยต่อไป ปริมาณ สารสกัดหยาบใบพญาสัตบรรณ รวมทั้งลักษณะทางกายภาพของสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีการ หมัก แสดงดังตารางที4.1 และภาพที่ 4.1 - 4.2 ตารางที4.1 ปริมาณสารสกัดหยาบและผลผลิตร้อยละของใบและฝักพญาสัตบรรณที่สกัดด้วย เอทานอล และเอทิลอะซิเตท พืชที่ใช้ ตัวทาละลาย ปริมาณสารสกัดหยาบที่ได้ าหนัก (g) ร้อยละผลผลิตของสารสกัด ใบพญาสัตบรรณ เอทานอล 38.01 11.70 เอทิลอะซิเตท 12.75 3.92 ตารางที4.2 ลักษณะทางภายภาพของสารสกัดหยาบที่สกัดด้วยเอทานอล และเอทิลอะซิเตท เมื่อละลายกับตัวทาละลาย DMSO ที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ (มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ลักษณะของสารสกัดหยาบ เมื่อละลายกลับด้วย DMSO 2,000 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดมากที่สุด 1,500 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดมาก 1,000 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดปานกลาง 500 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดน้อย

บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

28

บทท่ี 4 ผลการทดลอง

4.1 การสกัดสารจากใบพญาสัตบรรณ

จากการศึกษาสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีการหมัก (Maceration) โดยใช้เอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ และเอทิลอะซิเตทเป็นตัวท าละลาย โดยใช้อัตราส่วนของสมุนไพรต่อตัวท าละลายเท่ากับ 1 กรัม ต่อ 4 มิลลิลิตร (1 : 4) พบว่า สารสกัดเอทานอลจากใบพญาสัตบรรณ แสดงผลผลิตร้อยละ 11.17 โดยมีลักษณะแห้ง สีเขียวเข้ม ซ่ึงมีลักษณะเช่นเดียวกับสารละลายเอทิลอะซิเตท ที่สามารถสกัดสารออกมาได้คิดเป็นร้อยละ 3.92 (ตารางที่ 4.1 และ 4.2)

เมื่อพิจารณาลักษณะสารสกัดหยาบจากเอทานอลและเอทิลอะซิเตทเมื่อละลายด้วยตัวท าละลาย Dimethyl sulfoxide (DMSO) ให้มีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับ 500, 1,000, 1,500 และ 2,000 มิลลิกรัม ต่อมิลลิลิตร ตามล าดับ พบว่า สารสกัดใบพญาสัตบรรณที่ความเข้มข้น 1,500 และ 2,000 มีความหนืดมากจน DMSO ละลายได้ไม่ทั่วถึง (ตารางที่ 4.2) คณะผู้วิจัยจึงคัดเลือกสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่ความเข้มข้นเท่ากับ 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไปใช้ในการด าเนินการวิจัยต่อไป ปริมาณสารสกัดหยาบใบพญาสัตบรรณ รวมทั้งลักษณะทางกายภาพของสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีการหมัก แสดงดังตารางที่ 4.1 และภาพท่ี 4.1 - 4.2

ตารางท่ี 4.1 ปริมาณสารสกัดหยาบและผลผลิตร้อยละของใบและฝักพญาสัตบรรณที่สกัดด้วย เอทานอล และเอทิลอะซิเตท

พืชท่ีใช้ ตัวท าละลาย ปริมาณสารสกัดหยาบท่ีได้

น าหนัก (g) ร้อยละผลผลิตของสารสกัด

ใบพญาสัตบรรณ เอทานอล 38.01 11.70

เอทิลอะซิเตท 12.75 3.92 ตารางท่ี 4.2 ลักษณะทางภายภาพของสารสกัดหยาบที่สกัดด้วยเอทานอล และเอทิลอะซิเตท เมื่อละลายกับตัวท าละลาย DMSO ที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน

ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ (มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร)

ลักษณะของสารสกัดหยาบ เมื่อละลายกลับด้วย DMSO

2,000 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดมากที่สุด 1,500 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดมาก 1,000 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดปานกลาง 500 ของเหลวสีเขียวเข้ม มีความหนืดน้อย

Page 2: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

29

ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล (ก) และเอทิลอะซิเตท (ข) 4.2 แบคทีเรียท่ีใช้ทดสอบ เชื้อแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ E. coli ATCC 25922, B. subtilis TISTR 1248 , P. aeruginosa ATCC 27853 , S. aureus ATCC 25923 และ K. pneumoniae TISTR 1867 ซึ่งเชื้อทั้ง 5 ชนิดเป็นตัวแทนของแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ โดยแบคทีเรียที่เป็นตัวแทนของแบคทีเรียในกลุ่มของแบคทีเรียแกรมบวก ได้แก่ S. aureus ATCC 25923 ติดสีม่วงของครสิตัลไวโอเลต ลักษณะเซลล์มีรูปร่างกลม ส่วนมากจะอยู่เป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น และ B. subtilis TISTR 1248 ติดสีม่วง มีรูปร่างเป็นท่อน เรียงตัวเป็นสาย ส่วนแบคทเีรียตัวแทนแกรมลบ ได้แก่ E. coli ATCC 25922, P. aeruginosa ATCC 27853 และ K. pneumoniae TISTR 1867 ซึ ่งติดสีแดงของซาฟรานิน มีลักษะเป็นรูปท่อน รูปร่างและลักษณะของแบคทีเรียภายใต้กล้องจุลทรรศน์ที่ก าลังขยาย 1,000 เท่า แสดงดังตารางที่ 4.3 ตารางท่ี 4.3 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อทดสอบภายใต้กล้องจุลทรรศน์ก าลังขยาย 1,000 เท่า

เชื อแบคทีเรีย ลักษณะโคโลนี ลักษณะภายใต้ กล้องจุลทรรศน์

ลักษณะการเรียงตัวและการติดสีแกรม

B. subtilis TISTR 1248

- ติดสีม่วง - รูปร่างเป็นท่อนเรียงตัว

เป็นสาย

S. aureus ATCC 25923

- ติดสีม่วง - รูปร่างกลม - อาจจะอยู่เดี่ยวๆ หรือเป็นคู่

แต่ส่วนมากอยู่เป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น

ก ข

Page 3: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

30

ตารางท่ี 4.3 (ต่อ)

เชื อแบคทีเรีย ลักษณะโคโลนี ลักษณะภายใต้ กล้องจุลทรรศน์

ลักษณะการเรียงตัวและการติดสีแกรม

E. coli ATCC 25922

- ติดสีแดง - รูปร่างเป็นท่อนสั้นๆ

K. pneumoniae TISTR 1867

- ติดสีแดง - รูปร่างเป็นท่อน

P. aeruginosa ATCC 27853

- ติดสีแดง - รูปร่างเป็นท่อน

4.3 การศึกษาความสามารถในการยับยั งการเจริญของแบคทีเรียโดยวิธี Agar disc diffusion เมื่อน าสารสกัดจากหยาบจากใบของพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์และเอทิลอะซิเตท ซึ่งละลายด้วย DMSO ให้มีความเข้มข้นเท่ากับ 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล าดับ และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มาทดสอบความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ E. coli ATCC 25922, B. subtilis TISTR 1248, P. aeruginosa ATCC 27853 , S. aureus ATCC 25923 และ K. pneumoniae TISTR 1867 ด้วยวิธี Agar disc diffusion พบว่า สารสกัดหยาบของใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ และเอทิลอะซิเตทที่มีความเข้มข้น 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียทั้ง 5 ชนิดได้ แสดงดังภาพที่ 4.2

Page 4: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

31

ภาพที่ 4.2 ประสิทธิภาพของสารสกัดเอทานอลและเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น 1,000 และ 500

มิลลิกร ัมต่อมิลลิล ิตร ในการย ับยั ้งการเจริญของเชื ้อ E. coli ATCC 25922 (ก), P. aeruginosa ATCC 27853 (ข ), S. aureus ATCC 25923 (ค ), B. subtilis TISTR 1248 (ง) และ K. pneumoniae TISTR 1867 (จ)

4.4 การศึกษาฤทธิ์การท างานร่วมกันของสารสกัดกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin

การศึกษาการท างานร่วมกันของสารสกัดหยาบกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin โดยเลือกสารสกัดหยาบที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และยาปฏิชีวนะที่ความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ในการยับยั้งการเจริญของ E. coli ATCC 25922, P. aeruginosa ATCC 27853, S. aureus ATCC 25923, B. subtilis TISTR 1248 และ K. pneumoniae TISTR 1867 ท าการทดสอบโดยการน าสารสกัดหยาบผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นต่างๆ ได้เป็นอัตราส่วนของ สารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตทดังตารางที่ 4.4 – 4.9 พบว่า อัตราส่วนของสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอลต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่มีความเข้มข้น E10 + G90 สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC ได้สูงที่สุดโดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 31.67 ± 2.89มิลลิเมตร และที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ พบว่า มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของ K. pneumoniae TISTR 1867, P. aeruginosa ATCC 27853 25923, B. subtilis TISTR 1248 และ E. coli ATCC 25922 ได้ดีที่สุดโดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 26.33 ± 1.53, 24.33 ± 0.58, 23.33 ± 1.63 และ 20.00 ± 1.73 มิลลิเมตร ตามล าดับ

ส่วนอัตราส่วนของสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตทต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus

ข ก ค

ง จ

Page 5: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

32

ATCC 25923 โดยมีค่าวงใสสูงสุดเท่ากับ 30.67 ± 2.08 มิลลิเมตร รองลงมาคือ ที่ความเข้มข้นของสารเท่ากับ E40 + G60 และ E30 + G70 เปอร์เซ็นต์ สามารถต้านเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867 โดยมีค่าวงใสในการยับยั้งเท่ากับ 27.67 ± 3.21 และ 27.67 ± 2.31 มิลลิเมตร ตามล าดับ และที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต ์สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 โดยมีค่าวงใสในการยับยั้งเท่ากับ 27.33 ± 6.66 มิลลิเมตร และที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ สามารถต้านเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 โดยมีค่าวงใสในการยับยั้งเท่ากับ 24.33 ± 1.53 มิลลิเมตร ซึ่งผลการยับยั้งการเจริญของเชื้อทดสอบทั้ง 5 ชนิด โดยจะแสดงดังรูปที่ 4.3 – 4.12 และ แสดงผลดังตารางที่ 4.5 – 4.9 ดังนี้

ตารางที่ 4.4 อัตราส่วนของสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin

สารสกัดใบพญาสัตบรรณ (เปอร์เซ็นต์)

Gentamicin (เปอร์เซ็นต์)

ความเข้มข้นของสารทดสอบต่อ Disc สารสกัด (mg/disc) Gentamicin (g/disc)

E100 G0 20 0 E90 G10 18 2 E80 G20 16 4 E70 G30 14 6 E60 G40 12 8 E50 G50 10 10 E40 G60 8 12 E30 G70 6 14 E20 G80 4 16 E10 G90 2 18 E0 G100 0 20

หมายเหตุ E หมายถึง สารสกัด/น้ า G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

จากการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล และเอทิลอะซิเตทในการเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการต้านการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ด้วยวิธี Paper disc diffusion ซึ่งแสดงในตารางที่ 4.5 พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ (2 มิลลิกรัมต่อดิส์ก) มีประสิทธิภาพต้านการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ได้ดีที่สุด โดยมีค่าวงใสของการยับยั้งเท่ากับ 24.33 ± 1.53 มิลลิเมตร รองลงมา คือ สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ (2 มิลลิกรัมต่อดิสก์) และสารสกัดเอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ (4 มิลลิกรัมต่อดิสก์) ซึ่งมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 23.33 ± 1.53 และ 22.67 ± 2.08 มิลลิเมตร ตามล าดับ

Page 6: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

33

เมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin โดยสังเกตจากค่าวงใสการยับยั้งที่เพ่ิมมากขึ้นจากค่าของยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นเท่ากัน และเมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการยับยั้งด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ รวมทั้งยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการยังยั้งเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แสดงดังตารางที่ 4.5 และภาพท่ี 4.3 - 4.4

นอกจากนี้สารสกัดที่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin สูงที่สุด คือ สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่าวงใสการยับยั้ง เท่ากับ 22.67 ± 2.08 มิลลิเมตร ในขณะที่ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ มีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 18.67 ± 8.08 มิลลิเมตร ซึ่งมีค่าวงใสมากขึ้น 4.00 มิลลิเมตร อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

Page 7: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

34

ตารางที่ 4.5 ค่าวงใสการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ของสารสกัดใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีทดสอบ

การเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ (Synergism)

หมายเหตุ 1) ค่าที่แสดงในตารางเป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ า 2) ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรแตกต่างกันในแนวตั้ง แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ps≤0.05)

E หมายถึง สารสกัด/น้ า, G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G) (เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยเส้นผ่าศูนย์กลางวงใสการยับยั ง mean ± SD (มิลลิเมตร) สารสกัดเอทานอล + Gentamicin

สารสกัดเอทิลอะซิเตท + Gentamicin

Gentamicin

E100 + G0 0.00 ± 0.00e 0.00 ± 0.00e 0.00 ± 0.00e E90 + G10 16.33 ± 1.15cd 17.00 ± 1.73bcd 21.00 ± 1.00abcd E80 + G20 17.33 ± 0.58bcd 15.67 ± 2.31d 21.33 ± 0.58abcd E70 + G30 18.67 ± 1.15abcd 18.67 ± 2.31abcd 22.67 ± 1.15abc E60 + G40 18.67 ± 1.53abcd 20.33 ± 0.58abcd 24.00 ± 1.00a E50 + G50 19.33 ± 1.53abcd 19.33 ± 1.15abcd 25.00 ± 1.00a E40 + G60 18.67 ± 1.15abcd 22.33 ± 1.53abc 23.00 ± 1.73ab E30 + G70 19.33 ± 0.58abcd 22.33 ± 0.58abc 24.00 ± 1.00a E20 + G80 21.33 ± 3.05abcd 22.67 ± 2.08abc 18.67 ± 8.08abcd E10 + G90 23.33 ± 1.53ab 24.33 ± 1.53a 25.00 ± 0.00a

Gentamicin 24.67 ± 2.31a 24.00 ± 2.00a 24.67 ± 2.31a

34

Page 8: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

35

ภาพที่ 4.3 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณ ที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์ , 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์ , 8 : E50 + G50 เปอร์ เซ็นต์ , 9 : E40 + G60 เปอร์ เซ็นต์ , 10 : E30 + G70 เปอร์ เซ็นต์ , 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

ภาพที่ 4.4 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณ ที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต์, 9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต์, 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

2

4 3

5 6

7

8

11

10

12

9 1

2

4 3

5

6

7

8

11

10

12

9 1

Page 9: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

36

จากการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตทในการเสริมฤทธิ์ด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin เพ่ือต้านการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923ด้วยวิธี Paper disc diffusion พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ (2 มิลลิกรัมต่อดิสก์) มีประสิทธิภาพต้านการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ได้ดีที่สุดโดยมีค่าวงใสของการยับยั้งเท่ากับ 31.67 ± 2.89 มิลลิเมตร รองลงมา คือสารสกัดจาดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น 40% (8 มิลลิกรัมต่อดิสก์) และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น 20% (4 มิลลิกรัมต่อดิสก์) โดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 30.67 ± 2.08 และ 30.33 ± 3.21 มิลลิเมตร ตามล าดับ

เมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin โดยสังเกตจากค่าวงใสการยับยั้งที่เพ่ิมมากขึ้นจากค่าของยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นเท่ากัน เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการยับยั้งด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E50 + G50, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 รวมทั้งยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.6 และภาพท่ี 4.5 - 4.6)

นอกจากนี้ สารสกัดที่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin สูงที่สุด คือ สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ โดยแสดงค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 30.67 ± 2.08 มิลลิเมตร ในขณะที่ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ มีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 25.33 ± 0.58 มิลลิเมตร ซึ่งมีค่าวงใสมากขึ้น 5.34 มิลลิเมตร อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

Page 10: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

37

ตารางท่ี 4.6 ค่าวงใสการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ของสารสกัดใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีทดสอบการเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ (Synergism)

หมายเหตุ 1) ค่าที่แสดงในตารางเป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ า 2) ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรแตกต่างกันในแนวตั้ง แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ps≤0.05)

E หมายถึง สารสกัด/น้ า, G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G) (เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางวงใสการยับยั ง mean ± SD (มิลลิเมตร) สารสกัดเอทานอล

+ Gentamicin สารสกัดเอทิลอะซิเตท

+ Gentamicin Gentamicin

E100 + G0 0.00 ± 0.00j 0.00 ± 0.00j 0.00 ± 0.00j E90 + G10 26.00 ± 4.36bcdefghi 21.67 ± 0.58hi 20.67 ± 1.15i E80 + G20 26.00 ± 1.73bcdefghi 23.00 ± 2.65 fghi 22.00 ± 0.00ghi E70 + G30 23.67 ± 3.21efghi 27.67 ± 1.53abcdef 23.33 ± 0.58efghi E60 + G40 26.00 ± 2.00bcdefghi 28.00 ± 1.73abcdef 23.00 ± 1.73fghi E50 + G50 27.33 ± 0.58abcdefg 28.67 ± 1.53abcde 25.00 ±0.00defghi E40 + G60 26.00 ± 1.73bcdefghi 30.67 ± 2.08abc 25.33 ± 0.58cdefghi E30 + G70 29.67 ± 1.15abcd 29.67 ± 2.53abcd 26.00 ± 0.00bcdefghi E20 + G80 28.00 ± 1.00abcdef 30.33 ± 3.21abcd 26.33 ± 0.58abcdefgh E10 + G90 31.67 ± 2.89a 30.00 ± 1.73abcd 27.33 ± 0.58abcdefg

Gentamicin 28.89 ± 2.65ab 28.67 ± 1.53abcde 26.00 ± 0.00bcdefghi

37

Page 11: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

38

ภาพที่ 4.5 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณ ที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับ ยาปฏิชีวินะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์ เซ็นต์ , 9 : E40 + G60 เปอร์ เซ็นต์ ,10 : E30 + G70 เปอร์ เซ็นต์ , 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

ภาพที่ 4.6 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณ ที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวินะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์,7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต์, 9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต์, 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

2 4

3

5 6

7

8

11

10

12

9 1

2 4 3

5 6

7

8

11

10

12

9

1

Page 12: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

39

ผลการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพญาสัตบรรณท่ีสกัดด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตทในการเสริมฤทธิ์ด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin ต้านการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ด้วยวิธี Paper disc diffusion พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ (4 มิลลิกรัมต่อดิสก)์ มีประสิทธิภาพต้านการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ได้ดีที่สุดโดยมีค่าวงใสของการยับยั้งเท่ากับ 21.67 ± 0.58 มิลลิเมตร รองลงมา คือ สารสกัดจากเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ (8 มิลลิกรัมต่อดิส์ก) และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ ( 2 มิลลิกรัมต่อดิสก์) โดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 20.67 ± 1.15 และ 20.00 ± 1.73 มิลลิเมตร ตามล าดับ เมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin พบว่า สารสกัดเอทานอลและเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้นต่างๆ ไม่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการยับยั้งเชื้อ E. coli ATCC 25922 โดยสังเกตจากค่าวงใสการยับยั้งของสารสกัดเอทานอล สารสกัดเอทิลอะซิเตท และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นเท่ากัน การพิจารณาประสิทธิภาพในการยับยั้งด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้นเท่ากับ E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และE10 + G90 เปอร์เซ็นต์ รวมทั้งยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นเท่ากับ E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์ เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการยังยั้ งเชื้อ E. coli ATCC 25922 ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แสดงดังตารางที่ 4.7 และภาพที่ 4.7 - 4.8

Page 13: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

40

ตารางท่ี 4.7 ค่าวงใสการยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ของสารสกัดใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีทดสอบการเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ (Synergism)

หมายเหตุ 1) ค่าที่แสดงในตารางเป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ า 2) ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรแตกต่างกันในแนวตั้ง แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ps≤0.05)

E หมายถึง สารสกัด/น้ า, G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G) (เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางวงใสการยับยั ง mean ± SD (มิลลิเมตร) สารสกัดเอทานอล

+ Gentamicin สารสกัดเอทิลอะซิเตท

+ Gentamicin Gentamicin

E100 + G0 0.00 ± 0.00m 0.00 ± 0.00m 0.00 ± 0.00m E90 + G10 9.67 ± 0.58l 12.00 ± 2.65kl 12.67 ± 2.08jkl E80 + G20 12.00 ± 1.00kl 16.00 ± 1.00ghijk 17.00 ± 3.60fghi E70 + G30 14.67 ± 0.58ijk 17.67 ± 0.58defghi 19.33 ± 1.15bcdefgh E60 + G40 17.00 ± 1.00fghi 17.33 ± 0.58efghi 22.00 ± 1.00abc E50 + G50 16.67 ± 1.15fghij 18.67 ± 1.15cdefghi 24.00 ± 1.00a E40 + G60 16.00 ± 1.00ghijk 20.67 ± 1.15abcdef 23.33 ± 0.57ab E30 + G70 15.67 ± 1.15hijk 20.00 ± 0.00abcdefg 22.33 ± 1.53abc E20 + G80 17.67 ± 0.58defghi 21.67 ± 0.58abcd 23.00 ± 0.00ab E10 + G90 20.00 ± 1.73abcdefg 20.67 ± 1.15abcdef 22.67 ± 0.58abc

Gentamicin 23.00 ± 2.00ab 21.33 ± 1.15abcde 23.67 ± 1.53a

40

Page 14: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

41

ดยใช้วิธี การทดสอบกา

ภาพที ่ 4.7 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่ สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวินะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์ เซ็นต์ , 9 : E40 + G60 เปอร์ เซ็นต์ ,10 : E30 + G70 เปอร์ เซ็นต์ , 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

ภาพที่ 4.8 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวินะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์ เซ็ นต์ , 4 : E90 + G10 เปอร์ เซ็ นต์ , 5 : E80 + G20 เปอร์ เซ็นต์ , 6 : E70 + G30 เปอร์ เซ็นต์ , 7 : E60 + G40 เปอร์ เซ็นต์ , 8 : E50 + G50 เปอร์ เซ็นต์ , 9 : E40 + G60 เปอร์ เซ็นต์ , 10 : E30 + G70 เปอร์ เซ็นต์ , 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

2

4 3

5 6

7

8

11

10

12

9

1

2

4 3

5 6

7

8

11

10

12

9 1

Page 15: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

42

ผลการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพญาสัตบรรณท่ีสกัดด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตทในการเสริมฤทธิ์ด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการต้านการเจริญของ K. pnumoniae TISTR 1867 ด้วยวิธี Paper disc diffusion พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ (8 มิลลิกรัมต่อดิสก์) และที่ความเข้มข้น E30 + G70 เปอร์เซ็นต์ (6 มิลลิกรัมต่อดิส์ก) มีประสิทธิภาพต้านการเจริญของเชื้อ K. pnumoniae TISTR 1867 ได้ดีที่สุด โดยมีค่าวงใสของการยับยั้งเท่ากับ 27.67 ± 3.21 และ 27.67 ± 2.31 มิลลิเมตร ตามล าดับ รองลงมา คือสารสกัดจากเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ (2 มิลลิกรัมต่อดิสก์) โดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 27.00 ± 2.65 มิลลิเมตร

เมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin พบว่า สารสกัดเอทานอลและสารสกัดเอทิลอะซิเตท ไม่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin และเมื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการยับยั้งด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอล ที่ความเข้มข้นเท่ากับ E40 + G60,E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40,E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เ ปอร์ เ ซ็ นต์ มีประสิทธิภาพในการยังยั้งเชื้อ K. pnumoniae TISTR 1867 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ตารางที ่4.8 และภาพท่ี 4.9-4.10)

Page 16: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

43

ตารางที่ 4.8 ค่าวงใสการยับยั้งการเจริญของเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867 ของสารสกัดใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีทดสอบการเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ

(Synergism)

หมายเหตุ 1) ค่าที่แสดงในตารางเป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ า 2) ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรแตกต่างกันในแนวตั้ง แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ps≤0.05)

E หมายถึง สารสกัด/น้ า, G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G) (เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางวงใสการยับยั ง mean ± SD (มิลลิเมตร) สารสกัดเอทานอล

+ Gentamicin สารสกัดเอทิลอะซิเตท

+ Gentamicin Gentamicin

E100 + G0 0.00 ± 0.00e 0.00 ± 0.00e 0.00 ± 0.00e E90 + G10 20.00 ± 1.00cd 18.33 ± 3.21d 24.67 ± 1.53abcd E80 + G20 23.67 ± 4.73bcd 24.00 ± 5.58bcd 25.67 ± 1.15abc E70 + G30 23.00 ± 3.00bcd 23.33 ± 1.53bcd 26.67 ± 1.15abc E60 + G40 24.00 ± 1.73bcd 24.33 ± 0.58abcd 26.00 ± 1.73abc E50 + G50 23.67 ± 1.53bcd 26.33 ± 2.89abc 27.67 ± 2.08ab E40 + G60 25.33 ± 2.08abcd 27.67 ± 3.21ab 27.67 ± 0.58ab E30 + G70 25.00 ± 1.00abcd 27.67 ± 2.31ab 28.33 ± 0.58ab E20 + G80 26.00 ± 1.73abc 26.00 ± 4.35abc 29.00 ± 1.00ab E10 + G90 26.33 ± 1.53abc 27.00 ± 2.65abc 28.33 ± 0.57ab

Gentamicin 27.33 ± 1.53ab 28.67 ± 0.00ab 31.33 ± 1.25a

43

Page 17: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

44

ภาพที ่ 4.9 การยับยั ้งการเจร ิญของเชื ้อ K. pneumoniae TISTR 1867 โดยสารสกัดจาก

ใบพญาสัตบรรณที ่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ ็นต์ ที ่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต์,9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต์, 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

ภาพที ่ 4.10 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867 โดยสารสกัดจากใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์ เซ็นต์ , 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์ เซ็นต์ , 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต,์ 9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต,์ 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต ์

2

4 3

6 12 5

2

4

7

3

5 6

7

8

8

11

10

12

9

1

11

10 9 1

Page 18: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

45

จากการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตทในการเสริมฤทธิ์ด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการยับยั้งเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 ด้วยวิธี Paper disc diffusion พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทและเอทานอลที่ความเข้มข้น E20 + G80 (4 มิลลิกรัมต่อดิสก์) มีประสิทธิภาพต้านการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 ได้ดีที่สุด โดยมีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 27.33 ± 6.66 และ 24.33 ± 0.58 มิลลิเมตร ตามล าดับ

เมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดด้วยยาปฏิชีวนะ Gentamicin พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin โดยสังเกตจากค่าวงใสการยับยั้งที่ เ พ่ิมมากขึ้นจากค่าของยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นเท่ากันเมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการยับยั้งด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E30 + G70, E20 + G80 และE10 + G90เปอร์เซ็นต์ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E60 + G40, E50 + G50, E40 + G60, E30 + G70, E20 + G80 และ E10 + G90 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการยังยั้งเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.9 และภาพท่ี 4.11 - 4.12)

นอกจากนี้ สารสกัดที่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin สูงที่สุด คือ สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ มีค่าวงใสการยับยั้ง เท่ากับ 27.33 ± 6.66 มิลลิเมตร ในขณะที่ Gentamicin ที่ความเข้มข้น E20 + G80 เปอร์เซ็นต์ มีค่าวงใสการยับยั้งเท่ากับ 24.33 ± 1.15 มิลลิเมตร ซึ่งมีค่าวงใสมากขึ้น 3.00 มิลลิเมตร อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

Page 19: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

46

ตารางที่ 4.9 ค่าวงใสการยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 ของสารสกัดใบพญาสัตบรรณด้วยวิธีทดสอบการเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะ

(Synergism)

หมายเหตุ 1) ค่าท่ีแสดงในตารางเป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ า 2) ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรแตกต่างกันในแนวตั้ง แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ps≤0.05)

E หมายถึง สารสกัด/น้ า, G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G) (เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยเส้นผ่าศูนย์กลางวงใสการยับยั ง mean ± SD (มิลลิเมตร) สารสกัดเอทานอล สารสกัดเอทิลอะซิเตท Gentamicin

E100 + G0 0.00 ± 0.00j 0.00 ± 0.00j 0.00 ± 0.00j E90 + G10 11.67 ± 1.15i 12.33 ± 1.53i 15.00 ± 1.00h E80 + G20 17.00 ± 1.00fgh 18.33 ± 0.58efgh 18.00 ± 2.00efghi E70 + G30 18.67 ± 0.58efgh 19.00 ± 1.00efg 19.33 ± 0.58defg E60 + G40 17.00 ± 3.46fgh 15.67 ± 1.15gh 22.67 ± 1.53abcdef E50 + G50 19.67 ± 1.15cdefg 19.00 ± 0.00efg 22.67 ± 0.58abcdef E40 + G60 20.67 ± 0.58bcdefg 20.33 ± 0.58bcdefg 23.67 ± 0.58abcde E30 + G70 21.33 ± 2.08abcdefg 20.33 ± 1.15bcdefg 23.33 ± 0.58abcdef E20 + G80 24.33 ± 0.58abcde 27.33 ± 6.66a 24.33 ± 1.15abcde E10 + G90 23.33 ± 0.58abcdef 23.33 ± 0.58abcdef 24.33 ± 1.15abcde

Gentamicin 26.00 ± 1.00abc 26.67 ± 0.58ab 25.67 ± 0.57abcd

46

Page 20: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

47

ภาพที ่ 4.11 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 โดยสารสกัดจากใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น E20 + G80 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์เซ็นต์, 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์เซ็นต์, 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์, 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต์, 9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต์, 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

ภาพที่ 4.12 การยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 โดยสารสกัดจากใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ผสมกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เมื่อ 1 : E0 + G100 เปอร์ เซ็นต์ , 2 : DMSO, 3 : E100 + G0 เปอร์ เซ็นต์ , 4 : E90 + G10 เปอร์เซ็นต์, 5 : E80 + G20 เปอร์เซ็นต์, 6 : E70 + G30 เปอร์เซ็นต์, 7 : E60 + G40 เปอร์เซ็นต์ , 8 : E50 + G50 เปอร์เซ็นต์ , 9 : E40 + G60 เปอร์เซ็นต์ , 10 : E30 + G70 เปอร์เซ็นต์, 11 : E20 + G80 เปอร์เซ็นต์, 12 : E10 + G90 เปอร์เซ็นต์

2

4

2

3

4 3

5 6

7

5

8

6

11

10

12

7

9 1

8 10

1

11 12

9

Page 21: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

48

เมื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอลและยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40, E50 + G50 และ E10 + G90 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ในขณะที่สารสกัดเอทานอลที่ความเข้นข้น E100 + G0, E40 + G60, E30 + G70 และ E20 + G80 มีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (แสดงดังตารางที่ 4.10)

ในขณะที่ความสัมพันธ์ของใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้ วยเอทิลอะซิเตท และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันด้วยค่าทางสถิติ พบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเข้มข้น E90 + G10, E80 + G20, E70 + G30, E60 + G40, E20 + G80 และ E10 + G90 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และสารสกัดเอทิลอะซิเตทที่ความเขม้ข้น E100 + G0, E50 + G50 E40 + G60 และ E30 + G70 มีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (แสดงดังตารางที่ 4.11)

ตารางที่ 4.10 ความสัมพันธ์ของใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล และยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันด้วยค่าทางสถิติ

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชีวนะ Gentamicin (G)

(เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยวงใสของสารสกัดต่อยาปฏิชีวนะ

Gentamicin (มิลลิเมตร)

ค่าเฉลี่ยวงใสของ ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ค่าทางสถิติ

E100 + G0 0 0 Ns E90 + G10 16.73 25.53 * E80 + G20 19.20 24.27 * E70 + G30 19.73 24.80 * E60 + G40 20.53 24.60 * E50 + G50 21.33 24.87 * E40 + G60 21.33 23.53 Ns E30 + G70 22.20 22.27 Ns E20 + G80 23.47 20.80 Ns E10 + G90 24.93 18.80 *

Gentamicin 26.00 26.27 Ns

หมายเหตุ E หมายถึง สารสกัด G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin * หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ Ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

Page 22: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

49

ตารางที่ 4.11 ความสัมพันธ์ของใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันด้วยค่าทางสถิติ

ความเข้มข้นของสารสกัด (E) ต่อยาปฏิชิวนะ Gentamicin (G)

(เปอร์เซ็นต์)

ค่าเฉลี่ยวงใสของสารสกัดต่อยาปฏิชิวนะ

Gentamicin (มิลลิเมตร)

ค่าเฉลี่ยวงใสของ ยาปฏิชีวนะ Gentamicin

ค่าทางสถิติ

E100 + G0 0 0 Ns E90 + G10 16.27 25.53 * E80 + G20 19.40 24.27 * E70 + G30 21.27 24.80 * E60 + G40 21.80 24.60 * E50 + G50 22.40 24.87 Ns E40 + G60 24.33 23.53 Ns E30 + G70 24.00 22.67 Ns E20 + G80 25.60 20.80 * E10 + G90 25.07 18.80 *

Gentamicin 26.13 26.27 Ns

หมายเหตุ E หมายถึง สารสกัด G หมายถึง ยาปฏิชีวนะ Gentamicin * หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ Ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

4.5 การทดสอบหาค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั งการเจริญของเชื อ (Minimal inhibitory concentration, MIC) ด้วยวิธี Broth dilution technique และค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถฆ่าเชื อได้ (Minimum bactericidal concentration, MBC) เมื่อน าสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ไปหาค่า MIC ด้วยวิธี Broth dilution technique จากนั้นน าหลอดที่ไม่พบการเจริญของเชื้อไปเกลี่ยลงบนอาหาร MHA เพ่ือหาค่า MBC โดยใช้สารสกัดจากเอทานอลที่มีความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และยาปฏิชีวนะ Gentamicin ที่มีความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อไมโครลิตร เป็นความเข้มข้นเริ่มต้นในการทดสอบ จากการทดลองพบว่า ใบพญาสัตบรรณท่ีสกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการต้านการเจริญของ B. subtilis TISTR 1248 สูงที่สุด โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 15.62 และ 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และมีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867 และ S. aureus ATCC 25923 โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 31.25 และ 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร รองลงมาคือ P. aeruginosa ATCC 27853 และ E. coli ATCC 25922 ซึ่งแสดงค่า MIC และ MBC ระหว่าง 62.50 – 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล าดับ แสดงดังตารางที่ 4.12 และภาพท่ี 4.13 - 4.22

Page 23: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

50

ตารางท่ี 4.12 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อทดสอบ (MIC) และค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถฆ่าเชื้อทดสอบ (MBC) โดยสารสกัดจากใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์

สารสกัด

ความเข้มข้น (มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร)

K. pneumoniae TISTR 1867

S. aureus ATCC 25923

B. subtilis TISTR 1248

E. coli ATCC 25922

P. aeruginosa ATCC 27853

MIC MBC MIC MBC MIC MBC MIC MBC MIC MBC

สารสกัดเอทานอล 31.25 62.50 31.25 62.50 15.62 31.25 125.00 250.00 62.50 125.00

Gentamicin 0.15 0.31 1.25 0.63 0.31 0.63 2.50 2.50 0.63 1.25

50

Page 24: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

51

ภาพที่ 4.13 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (MIC) ของสารสกัดหยาบ

ใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B.subtilis TISTR 1248

ภาพที่ 4.14 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (MIC) ของสารสกัดหยาบ

ใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923

Page 25: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

52

ภาพที่ 4.15 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (MIC) ของสารสกัดหยาบ ใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922

ภาพที่ 4.16 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (MIC) ของสารสกัดหยาบ ใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867

Page 26: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

53

ภาพที่ 4.17 ค่าความเข้มข้นต่ าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (MIC) ของสารสกัดหยาบ ใบพญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853

ภาพที่ 4.18 การเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ภายหลังจากการสัมผัสสารสกัดหยาบใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้นต่างๆ โดย 1 : สารสกัดที่เข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 2 : สารสกัดที่เข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 3 : สารสกัดที่เข้มข้น 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 4 : สารสกัดที่เข้มข้น 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 5 : สารสกัดที่เข้มข้น 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 6 : สารสกัดที่เข้มข้น 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 7 : สารสกัดที่เข้มข้น 15.62 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 8 : สารสกัดที่เข้มข้น 7.81 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 9 : เชื้อ B. subtilis TISTR 1248, 10 : อาหาร MHA

1

2

3 4

5

6

7

8 9

10

Page 27: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

54

ภาพที่ 4.19 การเจริญของเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ภายหลังจากการสัมผัสสารสกัดหยาบใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้นต่างๆ โดย 1 : สารสกัดที่เข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 2 : สารสกัดที่เข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 3 : สารสกัดที่เข้มข้น 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 4 : สารสกัดที่เข้มข้น 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 5 : สารสกัดที่เข้มข้น 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 6 : สารสกัดที่เข้มข้น 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร , 7 : สารสกัดที่ เข้มข้น 15.625 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 8 : สารสกัดที่เข้มข้น 7.81 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 9 : เชื้อ S. aureus ATCC 25923, 10 : อาหาร MHA

ภาพที่ 4.20 การเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ภายหลังจากการสัมผัสสารสกัดหยาบใบ

พญาสัตบรรณที่สกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้นต่างๆ โดย 1 : สารสกัดที่เข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 2 : สารสกัดที่เข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 3 : สารสกัดที่เข้มข้น 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 4 : สารสกัดที่เข้มข้น 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 5 : สารสกัดที่เข้มข้น 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 6 : สารสกัดที่เข้มข้น 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร , 7 : สารสกัดที่เข้มข้น 15.625 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 8 : สารสกัดที่เข้มข้น 7.8125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 9 : เชื้อ E. coli ATCC 25922, 10 : อาหาร MHA

1

2

3 4

5

6

7

8 9

10

1

2

3 4

5

6

7

8 9

10

Page 28: บทที่ 4 ผลการทดลอง · 29 ภาพที่ 4.1 ลักษณะของสารสกัดใบพญาสัตบรรณที่สกัดดวยเอทานอล

55

ภาพที่ 4.21 การเจริญของเชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867 ภายหลังจากการสัมผัสสารสกัดหยาบใบพญาสัตบรรณท่ีสกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้นต่างๆ โดย 1 : สารสกัดที่เข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 2 : สารสกัดที่เข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 3 : สารสกัดที่เข้มข้น 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 4 : สารสกัดที่เข้มข้น 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 5 : สารสกัดที่เข้มข้น 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 6 : สารสกัดที่เข้มข้น 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 7 : สารสกัดที่เข้มข้น 15.625 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 8 : สารสกัดที่เข้มข้น 7.8125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 9 : เชื้อ K. pneumoniae TISTR 1867, 10 : อาหาร MHA

ภาพที่ 4.22 การเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853 ภายหลังจากการสัมผัสสารสกัดหยาบใบพญาสัตบรรณท่ีสกัดด้วยเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้นต่างๆ โดย 1 : สารสกัดที่เข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 2 : สารสกัดที่เข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 3 : สารสกัดที่เข้มข้น 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 4 : สารสกัดที่เข้มข้น 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 5 : สารสกัดที่เข้มข้น 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 6 : สารสกัดที่เข้มข้น 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร , 7 : สารสกัดที่เข้มข้น 15.625 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 8 : สารสกัดที่เข้มข้น 7.8125มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร, 9 : เชื้อ P. aeruginosa ATCC 27853, 10 : อาหาร MHA

1

2

3 4

5

6

7

8 9

10

1

2

3 4

5

6

7

8 9

10